Home » แนวทางการดูแลเฝ้าระวัง คัดกรอง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่คลอดปกติ วัยแรกเกิด-5 ปี | โรคที่พบบ่อย ทารก 0-5 ปี

แนวทางการดูแลเฝ้าระวัง คัดกรอง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่คลอดปกติ วัยแรกเกิด-5 ปี | โรคที่พบบ่อย ทารก 0-5 ปี

แนวทางการดูแลเฝ้าระวัง คัดกรอง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่คลอดปกติ วัยแรกเกิด-5 ปี


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

แนวทางการดูแลเฝ้าระวัง คัดกรอง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่คลอดปกติ วัยแรกเกิด-5 ปี

โควิดสายพันธุ์ใหม่ Omicron B.1.1.529 น่ากังวลตัวใหม่ในรอบ 6 เดือน


โควิดสายพันธุ์ใหม่ Omicron B.1.1.529 น่ากังวลตัวใหม่ในรอบ 6 เดือน

โควิดสายพันธุ์ใหม่ Omicron B.1.1.529 น่ากังวลตัวใหม่ในรอบ 6 เดือน

อาการที่พบบ่อยในทารกแรกเกิด (ตอนที่ 1) | DrNoon Channel


อาการที่พบได้ในเด็กแรกเกิด ตอนที่ 1
อาการสะดุ้ง/ผวา/กระตุก ตอนหลับ
อาการบิดตัว
อาการสะอึก
แหวะนม

อาการที่พบบ่อยในทารกแรกเกิด (ตอนที่ 1) | DrNoon Channel

สุดผวา!!โควิดสายพันธุ์ใหม่ ระบาดหนักทั่วโลก ติดเชื้อหลายประเทศในยุโรป


สุดผวา!!โควิดสายพันธุ์ใหม่ ระบาดหนักทั่วโลก ติดเชื้อหลายประเทศในยุโรป
สุดผวา!!โควิดสายพันธุ์ใหม่
ระบาดหนักทั่วโลก
ติดเชื้อหลายประเทศในยุโรป

สุดผวา!!โควิดสายพันธุ์ใหม่ ระบาดหนักทั่วโลก ติดเชื้อหลายประเทศในยุโรป

พลังสมอง EF เด็กไทย สร้างได้ก่อน 9 ขวบ


อะไรที่ทำให้มนุษย์คนหนึ่ง ไปได้ดีกว่าอีกคนหนึ่ง
คุณหมอประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ กล่าวว่า นั่นคือทักษะสมอง EF หรือ Executive Functions
ซึ่งความสามารถหรือทักษะของสมอง EF ของคนๆ หนึ่งจะแข็งแรงและดีได้ไปตลอดชีวิต…ต้องสร้างก่อน 9 ขวบ
เพราะเมื่อเด็กก้าวเข้าสู่ช่วงอายุ 912 ขวบ สมองจะเริ่มสลายวงจรประสาทบางส่วนที่ไม่ค่อยได้ใช้ทิ้งไป เหลือเฉพาะวงจรประสาทที่ได้ใช้
ฉะนั้นใน 9 ปีแรกของชีวิต สิ่งที่ควรทำที่สุดคือการสร้างพลังสมองเด็กไทยด้วยบันได 7 ขั้นของคุณหมอประเสริฐ
ขั้นที่ 1 สร้างแม่ที่มีอยู่จริง ขั้นที่ 2 สร้างสายสัมพันธ์กับแม่ แล้วขั้นที่ 3 คือสร้างตัวตน 3 ขั้นตอนนี้สร้างในเวลา 3 ปีแรกเท่านั้นเอง 3 ขวบปีแรก เร็วมาก!!
ขั้นที่ 4 คือการสร้าง Self – esteem หรือความมั่นใจว่าตนเองสามารถทำอะไรได้
ขั้นที่ 5 การควบคุมตนเอง (Self Control) ก้าวแรกของการสร้างทักษะขั้นสูงให้กับสมอง ก่อนที่จะไปสู่ขั้นที่ 6 คือ EF และปลายทางคือทักษะศตวรรษที่ 21 ต่อไป
EF คือความสามารถในการกำหนดเป้าหมายในอนาคตอันไกลโพ้นของชีวิต แล้วเดินทางผ่านอุปสรรค ไปจนถึงเป้าหมาย
เด็กๆ จะมี EF ที่แข็งแรงได้นั้นมาจากกิจกรรมที่พัฒนาสมองด้วยการเรียนรู้ผ่านนิ้วมือทั้งสิบ นั่นก็คือ การเล่น และการทำงาน
คุณหมอยังกล่าวอีกว่า “พอมีความรู้เรื่องวิทยาศาสตร์สมองสมัยใหม่แล้วก็ EF เข้ามา ผมคิดว่านี่เป็นความหวัง เป็นความหวังว่าเรื่องทั้งหมดนี้มีความเป็นวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจน เราสามารถเตรียมให้สมองเด็กดีที่สุดก่อนอายุ 9 ขวบได้”
ขอขอบคุณ นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
จิตแพทย์ และนักเขียนผู้เชี่ยวชาญการพัฒนาทักษะสมอง EF

สื่อชุด “พลังสมองเด็กไทย สร้างได้ด้วยพลังชุมชน”
โครงการผลิตสื่อเพื่อส่งเสริมความเข้าใจถึงแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในการพัฒนาเด็กและเยาวชน ด้วยพลังชุมชน
สนับสนุนโดย กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
สร้างสรรค์โดย สถาบัน RLG (รักลูก เลิร์นนิ่ง กรุ๊ป)

พลังสมอง EF เด็กไทย สร้างได้ก่อน 9 ขวบ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *