Home » เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุก เชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง | คดี บัตร เครดิต

เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุก เชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง | คดี บัตร เครดิต

เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุก เชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้หรือธนาคารหรือไฟแนนท์ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุกเชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง
สิ่งแรกที่ควรทำหยิบขึ้นมาอ่านก่อน ว่าใครเป็นเจ้าหนี้ใครเป็นลูกหนี้เขาฟ้องมาข้อหาอะไรเป็นที่เท่าไหร่หมายเลขคดีดำอะไรศาลไหน
หลังจากนั้นโทรไปหาทนายความของโจทก์ด้านหลังคำขอท้ายฟ้อง สอบถามรายละเอียดและแนวทางในการเจรจาหรือต่อสู้คดี
ลูกหนี้ควรไปศาลหรือไม่ไม่ไปได้ไหม และควรปรึกษาทนายหรือไม่มีประโยชน์ในการจ้างทนายเข้าไปให้คำแนะนำทางกฎหมายหรือไม่
ลองฟังคลิปนี้ดู อาจารย์เดชาให้ความรู้เกี่ยวกับชี้แนะทางออกเมื่อได้รับหมายศาล
ลองฟังดูนะครับมีประโยชน์ช่วยแชร์ไปด้วย พี่น้องประชาชนจะได้ไม่ต้องเครียด เพราะมีทางออก

เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุก เชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง

แอบเอาบัตรเครดิตแฟนไปรูด! (แฟนแจ้งตำรวจ?!)


แอบเอาบัตรเครดิตแฟนไป ช้อปแหลก! จะเกิดอะไรขึ้น? (แจ้งตำรวจ?!)

You can see me at!
Ajumma
ʕᴥ• ʔ Instagram : https://www.instagram.com/namnung.p
ʕᴥ• ʔ Fanpage : https://www.facebook.com/ajummanammy
ʕᴥ• ʔ Facebook : https://www.facebook.com/profile.php?…

Oppa
ʕ•̮͡•ʔ Instagram : https://www.instagram.com/oppathuchy
ʕ•̮͡•ʔ Fanpage : https://www.facebook.com/oppathuchy
ʕ•̮͡•ʔ Facebook : https://www.facebook.com/thuchyhandso…

Contact Work:
Email: [email protected]
Line: @OppaThuchyManager

แอบเอาบัตรเครดิตแฟนไปรูด! (แฟนแจ้งตำรวจ?!)

ถูกฟ้องคดีไม่ไปศาลได้หรือไม่ l ไม่ไปศาลคดีแพ่งติดคุกหรือไม่?


ไม่ไปศาลผลเป็นอย่างไร? ไม่ไปศาลคดีแพ่งติดคุกหรือไม่?
ถูกฟ้องคดีไม่ไปศาลได้หรือไม่
คำถามนี้เป็นคำถามที่มักจะมีท่านผู้ชมสอบถามเข้ามาบ่อย ผมจึงทำคลิปนี้ขึ้นมาหวังว่าจะเป็นประโยชน์กับทุกๆ คนนะครับ
=====================================
คลิปแนะนำ
คลิปซื้อคอนโดต้องรู้กฎหมายกำหนดแบบสัญญาไว้
https://youtu.be/gtgkiuMsOcI
คลิปถูกฟ้องคดีต้องทำอย่างไร..?
https://youtu.be/3QjjrqIzuts
คลิปอายุความบังคับคดีกี่ปี? เริ่มเมื่อไหร่
https://youtu.be/a5NqRt3nrvE
หากท่านผู้ชมมีข้อสอบถาม หรือมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อกฎหมายใดๆ สามารถสอบถามเข้ามาได้ที่การแสดงความเห็นด้านล่างนี้
หรือสามารถสอบถามมาได้ที่
ID Line : wasawatstyle
ทนายวสวัตติ์ ดิษยฐิตพันธ์
Attorney Wasawat Ditsayathitaphan

ถูกฟ้องคดีไม่ไปศาลได้หรือไม่ l ไม่ไปศาลคดีแพ่งติดคุกหรือไม่?

เมื่อถูกฟ้องคดีแพ่งต้องทำอย่างไร? เมื่อจำเลยได้รับหมายศาลต้องทำอย่างไร?


เมื่อถูกฟ้องคดีต้องทำอย่างไร? เมื่อจำเลยได้รับหมายศาลต้องทำอย่างไร?
เมื่อถูกฟ้องคดี อันดับแรกให้ดูหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องที่ท่านได้รับมาว่าเป็นคดีอะไร ตามตัวอย่างของคำฟ้องนี้ก็จะเป็นคดีผู้บริโภค
คดีผู้บริโภค คือ คดีอะไร เข้าใจง่ายๆ ก็จะเป็นคดีประเภท คดีเช่าซื้อรถยนต์ รถจักรยานยนต์ คดีซื้อขายบ้าน คอนโด คดีบัตรเครดิต คดีจำพวกนี้เป็นคดีแพ่งที่ว่าด้วยเรื่องทรัพย์สิน เรื่องเงิน ผลของคดีเมื่อถึงที่สุดแล้วก็จะมีการบังคับคดี ยึดทรัพย์ขายทอดตลาด อายัดบัญชี อายัดเงินเดือน แล้วแต่กรณี แต่จะไม่มีโทษจำคุกนะครับ
การต่อสู้คดีต้องดูทั้งข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย ดูคำฟ้อง ดูเอกสารท้ายฟ้อง ประกอบกันเพื่อต่อสู้คดี
แต่เนื่องจากผู้ชมอาจจะไม่มีความรู้ทางด้านกฎหมาย
ผมมีข้อแนะนำง่ายๆ
1. ดูคำฟ้อง เอกสารท้ายฟ้อง ข้อเท็จจริงต่างๆ ตรงกับความจริงหรือไม่ เช่น ต้นเงินถูกต้องไหม ดอกเบี้ย
เป็นอย่างไร สมเหตุสมผลหรือไม่
2. รวบรวมข้อเท็จจริง หรือเอกสารที่จะใช้โต้แย้ง หรือหักล้างกับคำฟ้องของโจทก์
3. ประเมินความสามารถการชำระเงินของตนเอง เพื่อประกอบการเจรจาในการชำระหนี้
ประเด็นนี้เป็นประเด็นสำคัญครับ จำเลยจะต้องพิจารณาและตัดสินใจแล้วว่า เมื่อถูกฟ้องคดีมาแล้วจะดำเนินการอย่างไร ตาม 3 แนวทางหลัก
แนวทางที่ 1 จำเลยประสงค์สู้คดี โดยแต่งตั้งทนายความเขียนคำให้การต่อสู้คดี สืบพยานโจทก์ สืบพยานจำเลยและขอให้ศาลพิพากษา
แนวทางที่ 2 จำเลยประสงค์ที่จะชำระหนี้ แต่ขอเจรจาไกล่เกลี่ย เช่น ลดยอดหนี้ ขอลดดอกเบี้ย ขอผ่อนชำระเงินคืน โดยทำสัญญาประนีประนอมยอมความ
แนวทางที่ 3 จำเลยไม่ประสงค์ต่อสู้คดีโดยขอให้ศาลพิพากษา เนื่องจากประเมินแล้ว ไม่สามารถชำระเงินคืน หรือผ่อนชำระเงินคืนให้กับทางโจทก์ได้เลย
ซึ่งทั้ง 3 แนวทางข้างต้น จะมีผลทางกฎหมายดังนี้
ผลของแนวทางที่ 1 ประสงค์ต่อสู้คดี แนวทางนี้หากการต่อสู้คดีจำเลยเป็นฝ่ายแพ้คดี จำเลยจะต้องชำระหนี้ตามคำพิพากษาเต็มจำนวน จะไม่สามารถเจรจาเพื่อผ่อนชำระเงินให้กับโจทก์ได้ และจำเลยจะต้องเสียดอกเบี้ยจนกว่าจะชำระเสร็จ และโจทก์สามารถตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์จำเลยได้ทันที แต่ในทางกลับกันถ้าจำเลยชนะคดีศาลก็จะมีคำพิพากษายกฟ้องโจทก์ก็จะเป็นเรื่องของการอุทธรณ์กันต่อไปครับ
ผลขอแนวทางที่ 2 ประสงค์ชำระหนี้ โดยทำสัญญาประนีประนอมยอมความ
ข้อดี จำเลยสามารถผ่อนชำระเป็นงวดๆ ได้
ข้อเสีย หากจำเลยผิดนัดงวดใดงวดหนึ่ง ถือว่าผิดนัดทั้งหมด โจทก์สามารถตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์จำเลยได้ทันที
ผลขอแนวทางที่ 3 จำเลยไม่ประสงค์ต่อสู้คดีโดยขอให้ศาลพิพากษา เมื่อศาลมีคำพิพากษาแล้ว ศาลจะออกคำบังคับให้จำเลยปฏิบัติตามคำบังคับโดยให้จำเลยชำระหนี้ตามคำพิพากษาให้โจทก์ภายใน 15 วันหรือ 30 วัน นับจากวันที่ศาลมีคำพิพากษา และเมื่อครบกำหนดโจทก์สามารถตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์จำเลยได้ทันที
โดยสรุปแล้ว ทั้ง 3 แนวทาง หากจำเลยไม่ชำระหนี้ให้กับโจทก์ โจทก์สามารถตั้งเจ้าหนักงานบังคับคดี ยึดทรัพย์สิน อายัดบัญชี หรืออายัดเงินเดือนของจำเลยได้ ตามกฎหมายครับ
หากท่านผู้ชมมีข้อสอบถาม หรือมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อกฎหมาย สามารถสอบถามเข้ามาได้ที่การแสดงความเห็นด้านล่าง
หรือสามารถสอบถามมาได้ที่
ID Line : wasawatstyle
Foreigners can contact me via LINE Application.
ID Line : wasawatstyle
ขอขอบคุณท่านผู้ชมทุกท่านที่มีการติดตามนะครับ

เมื่อถูกฟ้องคดีแพ่งต้องทำอย่างไร? เมื่อจำเลยได้รับหมายศาลต้องทำอย่างไร?

สารคดี สำรวจโลก ตอน ไขปริศนาเทือกเขาหิมาลัย


เทือกเขาหิมาลัย ประกอบด้วยยอดเขาที่สูงที่สุดในโลกหลายจุด ดินแดนแห่งนี้มีสิ่งลึกลับมากมายซ่อนอยู่ ปริศนาทางธรณีวิทยาจะทำให้คุณตื่นตาตื่นใจไปกับการเกิดขึ้นของเทือกเขาหิมาลัยอันยิ่งใหญ่นี้ได้อย่างไร ตามติดได้ในสารคดีสำรวจโลก ตอน ไขปริศนาเทือกเขาหิมาลัย
ดูสารคดีสำรวจโลก ที่ Good TV ผ่านดาวเทียม ไม่ยุ่งยาก จานทึบ KU Band เปลี่ยนกล่อง ดูได้ทันที ดูฟรี ไม่มีรายเดือน
💻 ดูสารคดี ดีที่สุด ชัดที่สุด ที่ Good TV http://tv.co.th/
☎️ Good TV โทร 020263399
📌สั่งซื้อกล่อง Good TV ได้ง่ายๆ 📌
Line Good TV👉 https://line.me/R/ti/p/%40goodtv

สารคดี สำรวจโลก ตอน ไขปริศนาเทือกเขาหิมาลัย

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *