Home » คุณป้า กู้บ้านผ่านแล้ว วันโอนบ้าน ต้องให้ธนาคาร ออกเช็คกี่ใบ | ค่าโอนบ้าน ธอส

คุณป้า กู้บ้านผ่านแล้ว วันโอนบ้าน ต้องให้ธนาคาร ออกเช็คกี่ใบ | ค่าโอนบ้าน ธอส

คุณป้า กู้บ้านผ่านแล้ว วันโอนบ้าน ต้องให้ธนาคาร ออกเช็คกี่ใบ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สำหรับคนที่มีปัญหา กู้เงินซื้อบ้านไม่ผ่าน ขอสินเชื่อกับ ธนาคารไม่ผ่าน แบงก์ ไม่อนุมัติ หรือ ท่านที่เคยมีปัญหาติดเครดิตบูโร และได้ปิดหนี้ไปแล้ว แต่ก็ยังยื่นขอสินเชื่อไม่ผ่าน
จากประสบการณ์กว่า 20 ปี ในตำแหน่ง วิเคราะห์สินเชื่อ จากสถาบันการเงินชั้นนำหลายๆ แห่ง ผมทำงานมาหลายแบงก์ครับ และสายสัมพันธ์ ทั้งเพื่อนร่วมงานเก่า และเจ้านายเก่าๆ ของผม ที่ผมมีคอนเนคชั่นกันอย่างลึกซึ้ง ผมยินดีที่จะแนะนำ ทริค และเทคนิค วิธีการต่างๆ ในการกู้เงินซื้อบ้าน วิธีขอสินเชื่อให้ผ่าน แบงก์ไหน ธนาคารไหน ปล่อยง่าย เทคนิควิธีการเดินบัญชี ทำยังไงให้กู้บ้านผ่าน เทคนิคการซื้อบ้านแล้วมีเงินเหลือ เทคนิคการดันราคาประเมินบ้าน ต่างๆ เหล่านี้ ผมพร้อมที่จะสอนและแนะนำ จาก ความรู้ และประสบการณ์กว่า 20 ปี ของผม
อะไรบ้างที่คุณจะได้จากผม
1. เทคนิค และวิธีการการเตรียมเอกสาร
2. เทคนิค และวิธีการเจรจา และนำเสนอข้อมูลต่อเจ้าหน้าที่สินเชื่อของธนาคาร อันนี้สำคัญมากนะครับ
3. และในปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่าง ขั้นตอนการยื่นเรื่อง ติดต่อประสานงานกันได้ตลอดเวลาครับ
ให้ท่านติดต่อ เข้ามาที่ LineID : @antonio ( ใส่เครื่องหมาย @ ด้วยนะครับ ) เพื่อนัดหมาย เวลาและสถานที่ ในการให้คำแนะนำด้านการเตรียมเอกสารและเทคนิควิธีการยื่นกู้ ขอสินเชื่อบ้าน โดยคิดอัตราค่าบริการ ให้คำปรึกษา 2,000 บาท ไม่มีกำหนดเวลาสอบถามได้ ตลอดเวลา หลังจากสอนกันครั้งแรกแล้วครับ
สถานที่นัดหมาย
The Wisdom Lounge ของ KBank ธนาคาร กสิกรไทย จำกัด
1. Kbank สาขา เซ็นทรัลบางนา
2. Kbank สาขา ซีคอนสแควร์
3. Kbank สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
หรือที่ร้าน Starbucks
1. ร้าน สตาร์บัค สาขา สมิติเวช ศรีนครินทร์
2. ร้าน สตาร์บัค สาขา ซีคอนสแควร์
3. ร้าน สตาร์บัค สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
4. ร้าน สตาร์บัค สาขา ธัญญา พาร์ค
5. ร้าน สตาร์บัค สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
6. ร้าน สตาร์บัค สาขา เดอะมอลล์ บางกะปิ
7. ร้าน สตาร์บัค สาขา เดอะ นายน์ พระรามเก้า
8. ร้าน สตาร์บัค สาขา เซ็นทรัล บางนา
หรือ อีกหนึ่งรูปแบบ เพียงแค่ท่าน ชำระเงิน จำนวน 1,000 บาท มาที่
SCB ธนาคาร ไทยพาณิชย์ เลขที่บัญชี 407 0 55631 0
KBank ธนาคาร กสิกรไทย เลขที่บัญชี 766 2 21897 3
ชื่อบัญชี Yuttana Kosakul
แล้ว ส่งข้อความมาที่ Line ID : @antonio ( ใส่เครื่องหมาย @ ด้วยนะครับ ) แล้วนัดเวลาที่คุณสะดวก เพื่อโทรคุยกันอีกทีครับ
ผมเป็นเจ้าของ เวปไซต์ http://antonioattorney.blogspot.com และ
เวปไซต์ http://antonioattorney.com และเพจนี้ https://www.facebook.com/CloseDealRealty ครับ
ลองดูโปรไฟล์ต่างๆ ของผม เพื่อการตัดสินใจของคุณครับ ผมรอคุณอยู่ครับ เพื่อที่จะได้แนะนำ เทคนิค วิธีการต่างๆ ให้คุณได้สำเร็จ และสมหวัง ในการที่ จะยื่นกู้ซื้อบ้านให้ผ่าน สมหวัง ตามความฝันของทุกๆ คนที่อยากจะมีบ้านกันนะครับ

คุณป้า กู้บ้านผ่านแล้ว วันโอนบ้าน ต้องให้ธนาคาร ออกเช็คกี่ใบ

สรุปจบในคลิปเดียว ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าโอนคอนโด ค่าใช้จ่ายในการโอนบ้านกรมที่ดิน | Guru Living


สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาคุยกันในอีกหนึ่งหัวข้อที่ได้รับความสนใจกันเป็นอย่างมากนะครับว่าการที่เราไปโอนบ้าน คอนโด หรือที่ดิน ณ กรมที่ดินเนี่ยเราจะมีค่าใช้จ่ายอะไรที่เราต้องเสียบ้างในฐานะทั้งเราเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็ตาม วันนี้ผมจะมาอธิบายค่าใช้จ่ายทุกๆอย่างโดยละเอียดเลยครับ

ก่อนอื่นเลยค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดินหากว่าเรามีการซื้อขาย บ้าน คอนโด หรือที่ดินกันจะมี 5 ตัวหลักๆครับคือ
1. ค่าธรรมเนียมการโอน
2. ค่าจดจำนอง
3. ค่าอากรแสตมป์
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
5.ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

1. ค่าธรรมเนียมการโอน
ค่าธรรมเนียมการโอนโดยปรกติแล้วจะคิดเท่ากับ 2% ของราคาประเมินกรมที่ดิน โดยต้องไม่สับสนกับราคาขาย และ ราคาประเมิณของธนาคารนะครับเป็นคนละตัวกัน ราคาประเมิณกรมที่ดินจะถูกประเมิณโดยอาศัยเกณของกรมที่ดินครับ ซึ่งโดยปรกติทั่วๆไปแล้วราคาจะต่ำกว่าทั้ง ราคาซื้อขาย และ ราคาประเมิณธนาคารครับ
(รัฐบาลได้มีการลดค่าธรรมเนียมจาก 2% เป็น 0.01% เฉพาะการซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ในวงเงินไม่เกิน 3 ล้านบาท จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2563 เท่านั้น)

2. ค่าจดจำนอง
กรณีซื้อขาย โดยจดจำนอง(กู้สินเชื่อธนาคาร) จะต้องมีการเสียค่าจดจำนองด้วยครับ โดยคิด 1% ของมูลค่าจำนอง พูดง่ายๆคือ 1% ของเงินที่เราไปกู้ธนาคารมาครับ ยกตัวอย่างเช่น เรากู้เงินธนาคาร 2.5 ล้านบ้าท ค่าจดจำนองจะคิด 1% ของ 2.5 ล้าน ได้ออกมาคือ 25,000 บาทครับ

แต่ในปี 2562 นี้ได้มีการปรับลดค่าจดจำนองลงเหลือ 0.01% เฉพาะกรณีที่มีการจำนองกับสถาบันการเงิน ในราคาซื้อขายและวงเงินจำนอง ไม่เกิน 3 ล้านบาท ตามนโยบายกระตุ้นการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาล จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2563 ซึ่งหากมูลค่าการซื้อขายมากกว่า 3 ล้านบาท ค่าจดจำนองยังคงคิด 1% ตามเดิม ทั้งนี้ การจดทะเบียนการโอนและการจดจำนอง ต้องดำเนินการในคราวเดียวกัน

3. ค่าอากรแสตมป์
กรณีซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ไม่ว่าจะเป็น บ้านเดี่ยว คอนโดมิเนียม ทาวน์เฮ้าส์ หากผู้ขายเป็นบุคคลธรรมดา แล้วมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเกิน 1 ปี หรือถือครองมาครบ 5 ปี จะต้องเสียค่าอากรแสตมป์ โดยมีอัตราคิดเป็น 0.5%ของราคาประเมิณกรมที่ดินครับ

เช่น หากบ้านมีราคาประเมิน 1.8 ล้านบาท แต่ราคาซื้อขาย อยู่ที่ 2 ล้านบาท ให้ยึดราคาซื้อขายเป็นเกณฑ์
2,000,000 x 0.5% = เสียค่าอากรแสตมป์ 10,000 บาท
โดยหากเสียค่าอากรแสตมป์แล้ว ไม่ต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะอีก
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
เมื่อเราขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยการซื้อขาย หรือ ได้รับเป็นมรดก จะต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยคิดเป็น 3.3% ของราคาขายหรือราคาประเมินทุนทรัพย์ แล้วแต่ราคาไหนที่สูงกว่า ยกเว้นแต่ ถ้าเราถือครองที่ดินเกิน 5 ปี หรือมีชื่อในทะเบียนบ้านเกิน 1 ปี ค่าภาษีธุรกิจจำเพาะจะถูกยกเว้นครับ
เช่น หากบ้านมีราคาประเมิน 1.8 ล้านบาท แต่ราคาซื้อขาย อยู่ที่ 2 ล้านบาท ให้ยึดราคาซื้อขายเป็นเกณฑ์
2,000,000 x 3.3% = เสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 66,000 บาท

5. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย
สำหรับผู้ขาย เมื่อขายอสังหาริมทรัพย์แล้วจะมีค่าใช้จ่ายอีกตัวนึงที่ตามมาครับ แต่ถ้าหากเราเป็นผู้ซื้อค่าใช้จ่ายนี้ไม่เกี่ยวข้องกับเรานะครับ ค่าใช้จ่ายตัวนี้คือ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเกณในการเรียกเก็บจะคิดจากราคาประเมินที่ดิน หักค่าใช้จ่ายตามอัตราที่กำหนด หารปีที่ถือครอง คูณอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ถ้าจนถึงตอนนี้ใครยังงงอยู่ไม่เป็นไรนะครับ เพราะสุดท้ายตัวเลขพวกนี้กรมที่ดินเขาจะคิดคำนวนออกมาให้เราครับ เพียงแต่ว่าถ้าเราสามารถคำนวนตัวเลขเหล่านี้ได้ก่อน จะทำให้เราสามารถรู้รายจ่ายที่กำลังจะเกิดขึ้น พร้อมเตรียมรับมือ วางแผนหารายได้มารองรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้ครับ
ค่าโอน ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าธรรมเนียมการโอน โอนบ้าน โอนที่ โอนที่ดิน ค่าธรรมเนียมการโอนที่ดิน ค่าธรรมเนียมโอนที่ดิน ค่าจดจำนอง ค่าอากรแสตมป์ ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีขายบ้าน

สรุปจบในคลิปเดียว ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าโอนคอนโด  ค่าใช้จ่ายในการโอนบ้านกรมที่ดิน | Guru Living

แนะนำขั้นตอนการติดต่อกับธนาคาร เมื่อได้รับอนุมัติสินเชื่อ


ขั้นตอนการลงนามสัสญญากู้เงินกับธนาคารอาคารสงเคราะห์
► เมื่อได้รับอนุมัติสินเชื่อแล้วทาง ธอส. จะส่งข้อความทาง SMS ไปหาหรือโทรแจ้งผล
ควรแจ้งวันนัดหมายล่วงหน้ากับธนาคารให้เรียบร้อย จะทำให้ได้รับความสะดวกรวดเร็ว ไม่ต้องเสียเวลาคอยนาน
► สำหรับลูกค้าของสาขาในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลจะลงนามในสัญญาที่ส่วนนิติกรรม ฝ่ายพิธีการสินเชื่อ ชั้น 1 อาคาร 2 สำนักงานใหญ่
► สำหรับลูกค้าของสาขาในส่วนภูมิภาค ให้ติดต่อลงนามในสัญญาที่สาขาที่ยื่นกู้
การลงนามสัญญากู้เงิน ให้เตรียม
► บัตรประชาชนของผู้กู้ และผู้กู้ร่วม กรณีมีคู่สมรส ทั้งจดทะเบียน และไม่จดทะเบียน แม้ว่าจะไม่ได้กู้ร่วมกันก็ต้องมาลงนามให้ความยินยอมในการกู้เงิน โดยเตรียมบัตรประชาชนมาด้วยเช่นกัน
► เมื่อลงนามแล้วให้นัดวันที่จะไปจดทะเบียนจำนองที่สำนักงานที่ดินตามวันและเวลาที่สะดวก
เอกสารที่ต้องเตรียมไปสำนักงานที่ดิน
1.บัตรประชาชน หรือบัตรประจำตัวข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
2.ทะเบียนบ้าน
3.หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล
4.ทะเบียนสมรส หรือทะเบียนหย่า
5.ใบมรณบัตรคู่สมรส
6.หนังสือยินยอมให้ทำนิติกรรมของคู่สมรส
7.ถ้ามีการแปลงสัญชาติ ให้นำหลักฐานการแปลงสัญชาติมาแสดง
แต่ถ้าหากกรณี ห้างหุ้นส่วน หรือบริษัท ควรเตรียมเอกสารดังนี้
1.หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลของนายทะเบียนพาณิชย์ ซึ่งรับรองในระยะเวลาไม่เกิน 30 วัน
2.บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นง
3.หนังสือบริคณห์สนธิ
4.บัตรประจำประชาชนและทะเบียนบ้านของกรรมการผู้มีอำนาจ
ขั้นตอนการจดทะเบียนสิทธินิติกรรม ณ สำนักงานที่ดิน
► จะมีพนักงานนิติกรรมของธอส.ประจำสำนักงานที่ดินเข้ามาแสดงตนให้บริการ
► ปฏิบัติตามขั้นตอนของสำนักงานที่ดิน โดยคำแนะนำของพนักงาน
สอบถามเพิ่มเติมที่
Call Center : 026459000
Website : http://www.ghbank.co.th/
Facebook : http://www.facebook.com/ghbank
Inbox : m.me/GHBank
ธอส GHBANK

แนะนำขั้นตอนการติดต่อกับธนาคาร เมื่อได้รับอนุมัติสินเชื่อ

ช่วงที่ทรมานที่สุด ของการกู้บ้านขอสินเชื่อบ้าน คือ รอนะครับ ส่งเรื่องให้ผู้ใหญ่ไปแล้ว


สำหรับคนที่มีปัญหา กู้เงินซื้อบ้านไม่ผ่าน ขอสินเชื่อกับ ธนาคารไม่ผ่าน แบงก์ ไม่อนุมัติ หรือ ท่านที่เคยมีปัญหาติดเครดิตบูโร และได้ปิดหนี้ไปแล้ว แต่ก็ยังยื่นขอสินเชื่อไม่ผ่าน
จากประสบการณ์กว่า 20 ปี ในตำแหน่ง วิเคราะห์สินเชื่อ จากสถาบันการเงินชั้นนำหลายๆ แห่ง ผมทำงานมาหลายแบงก์ครับ และสายสัมพันธ์ ทั้งเพื่อนร่วมงานเก่า และเจ้านายเก่าๆ ของผม ที่ผมมีคอนเนคชั่นกันอย่างลึกซึ้ง ผมยินดีที่จะแนะนำ ทริค และเทคนิค วิธีการต่างๆ ในการกู้เงินซื้อบ้าน วิธีขอสินเชื่อให้ผ่าน แบงก์ไหน ธนาคารไหน ปล่อยง่าย เทคนิควิธีการเดินบัญชี ทำยังไงให้กู้บ้านผ่าน เทคนิคการซื้อบ้านแล้วมีเงินเหลือ เทคนิคการดันราคาประเมินบ้าน ต่างๆ เหล่านี้ ผมพร้อมที่จะสอนและแนะนำ จาก ความรู้ และประสบการณ์กว่า 20 ปี ของผม
อะไรบ้างที่คุณจะได้จากผม
1. เทคนิค และวิธีการการเตรียมเอกสาร
2. เทคนิค และวิธีการเจรจา และนำเสนอข้อมูลต่อเจ้าหน้าที่สินเชื่อของธนาคาร อันนี้สำคัญมากนะครับ
3. และในปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่าง ขั้นตอนการยื่นเรื่อง ติดต่อประสานงานกันได้ตลอดเวลาครับ
ให้ท่านติดต่อ เข้ามาที่ LineID : @antonio ( ใส่เครื่องหมาย @ ด้วยนะครับ ) เพื่อนัดหมาย เวลาและสถานที่ ในการให้คำแนะนำด้านการเตรียมเอกสารและเทคนิควิธีการยื่นกู้ ขอสินเชื่อบ้าน โดยคิดอัตราค่าบริการ ให้คำปรึกษา 2,000 บาท ไม่มีกำหนดเวลาสอบถามได้ ตลอดเวลา หลังจากสอนกันครั้งแรกแล้วครับ
สถานที่นัดหมาย
The Wisdom Lounge ของ KBank ธนาคาร กสิกรไทย จำกัด
1. Kbank สาขา เซ็นทรัลบางนา
2. Kbank สาขา ซีคอนสแควร์
3. Kbank สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
หรือที่ร้าน Starbucks
1. ร้าน สตาร์บัค สาขา สมิติเวช ศรีนครินทร์
2. ร้าน สตาร์บัค สาขา ซีคอนสแควร์
3. ร้าน สตาร์บัค สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
4. ร้าน สตาร์บัค สาขา ธัญญา พาร์ค
5. ร้าน สตาร์บัค สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
6. ร้าน สตาร์บัค สาขา เดอะมอลล์ บางกะปิ
7. ร้าน สตาร์บัค สาขา เดอะ นายน์ พระรามเก้า
8. ร้าน สตาร์บัค สาขา เซ็นทรัล บางนา
หรือ อีกหนึ่งรูปแบบ เพียงแค่ท่าน ชำระเงิน จำนวน 1,000 บาท มาที่
SCB ธนาคาร ไทยพาณิชย์ เลขที่บัญชี 407 0 55631 0
KBank ธนาคาร กสิกรไทย เลขที่บัญชี 766 2 21897 3
ชื่อบัญชี Yuttana Kosakul
แล้ว ส่งข้อความมาที่ Line ID : @antonio ( ใส่เครื่องหมาย @ ด้วยนะครับ ) แล้วนัดเวลาที่คุณสะดวก เพื่อโทรคุยกันอีกทีครับ
ผมเป็นเจ้าของ เวปไซต์ http://antonioattorney.blogspot.com และ
เวปไซต์ http://antonioattorney.com และเพจนี้ https://www.facebook.com/CloseDealRealty ครับ
ลองดูโปรไฟล์ต่างๆ ของผม เพื่อการตัดสินใจของคุณครับ ผมรอคุณอยู่ครับ เพื่อที่จะได้แนะนำ เทคนิค วิธีการต่างๆ ให้คุณได้สำเร็จ และสมหวัง ในการที่ จะยื่นกู้ซื้อบ้านให้ผ่าน สมหวัง ตามความฝันของทุกๆ คนที่อยากจะมีบ้านกันนะครับ

ช่วงที่ทรมานที่สุด ของการกู้บ้านขอสินเชื่อบ้าน คือ รอนะครับ ส่งเรื่องให้ผู้ใหญ่ไปแล้ว

สัญญาจะซื้อจะขายบ้านคืออะไร สำคัญขนาดไหนสำหรับคนที่จะซื้อขายบ้าน | Guru Living


สัญญาจะซื้อจะขายบ้านคืออะไร สำคัญขนาดไหนสำหรับคนที่จะซื้อขายบ้าน | Guru Living
สวัสดีครับวันนี้ผมจะชวนทุกคนมาคุยถึงเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่งสำหรับคนที่กำลังวางแผนจะซื้อบ้านมือสองหรือกำลังจะขายบ้านนะครับ เวาลที่ทั้งเราจะซื้อหรือจะขายบ้านมันจะมีเอกสารสำคัญตัวหนึ่งที่มาเกี่ยวข้องครับสัญญาฉบับนี้คือ “สัญญาจะซื้อจะขายครับ”
สัญญาจะซื้อจะขายคืออะไร
สัญญาจะซื้อจะขายคือสัญญาที่ทำขึ้นเพื่อแสดงเจตนาว่า เราในฐานะผู้ขายมีความประสงค์จะขายบ้านหลังนี้ และ เขาในฐานะผู้ซื้อมีความประสงค์ที่จะซื้อบ้านหลังนี้ ซึ่งเอกสารฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้ตามกฎหมายครับ
หากมีฝ่ายๆใดฝ่ายหนึ่งไม่ทำตามข้อตกลงที่คุยกันไว้ ฝ่ายใดๆฝ่ายหนึ่งก็สามารถฟ้องร้องได้ครับ ก็เป็นประมาณนี้ ซึ่งในข้อตกลงต่างๆเราจำเป็นจะต้องระบุให้ละเอียดไปเลยนะครับในสัญญาฉบับนี้ไม่ว่าจะเป็น ราคา , มัดจำวางเท่าไร, ค่าใช้จ่ายใครออกบ้าง , ระยะเวลา หรือ เงื่อนไขอื่นๆ เหล่านี้ล้วนเป็นเรื่องสำคัญมากๆเลยนะครับ เพื่อที่จะไม่ให้เกิดปัญหาเวลาเราซื้อขายกัน เดี๋ยวผมจะมาขยายรายละเอีดให้ครับ

ส่วนประกอบหลักๆของสัญญาจะซื้อจะขายจะมีหลักๆดังต่อไปนี้ครับ
ข้อมูลของผู้ซื้อขาย ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เลขบัตรประชาชน
ส่วนแรกของเอกสารจะเป็นข้อมูลของทั้งสองฝ่ายครับซึ่งถ้านในสัญญาเขาจะเรียกแทนผู้ซื้อผู้ขายด้วยคำทางกฎหมายครับคือ
ผู้ซื้อ = ผู้จะซื้อ ผู้ขาย = ผู้จะขาย ซึ่งเอกสารส่วนแรกนี้สำคัญมากควรตรวจสอบข้อมูลไห้อย่างรอบคอบครับ
รายละเอียดทรัพย์ที่จะซื้อขาย
ส่วนที่สองคือรายละเอียดของทรัพย์ที่เราจะซื้อขายครับ ข้อมูลตรงนี้ต้องเอาข้อมูลที่ถูกต้องเช่นกันครับเช่น เลขที่โฉนด พื้นที่ ลักษณะอาคาร บ้านเดี่ยว หรือ อาคารชุด , ที่ตั้งตามทะเบียนบ้านเหล่านี้ต้องตรวจสอบให้ครบนะครับ
ราคาซื้อขาย + เงินมัดจำ
ส่วนนี้จะเป็นส่วนระบุราคาที่เราจะซื้อขายกันครับ วาสเราตกลงซื้อขายกันในราคาเท่าไร และจะเพิ่มเรื่องการวางมัดจำในสัญญาฉบับนี้ครับซึ่งโดยส่วนมากการวางมัดจำก็จะเริ่มที่ 510% หรือว่าก็แล้วแต่ตามตกลงกันในสัญญาครับ ซึ่งเงินตรงนี้วางไว้เพื่อป้องกันการทำผิดสัญญาหรืออื่นๆครับ
ค่าใช้จ่ายในวันโอนกรรมสิทธิ
ส่วนนี้เป็นส่วนสำคัญมากๆสำหรับทั้งผู้ซื้อและผู้ขายครับ คือเวลาเราไปโอนกรรมสิทธิบ้าน ที่ดิน หรือคอนโด ที่กรมที่ดินเนี่ยเขาจะมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นครับซึ่งค่าใช้จ่ายก็จะมี
ค่าโอน ค่าจดจำนอง ค่าอากรณ์แสตมป์ ภาษีธุรกิจจำเพาะ และ ภาษีเงินได้ ซึ่งผมได้ทำคลิปอธิบายอย่างระเอียดไว้แล้วในเรื่องนี้ครับสามารถเข้าไปดูได้เลย
แต่ในสัญญาจะซื้อจะขายมีหน้าที่ระบุว่าค่าใช้จ่ายข้างต้นที่ผมพูดไปทั้งหมด ใครมีหน้าที่จะต้องรับผิดชอบ ผู้ซื้อไหม ผู้ขายไหม ดังนั้นในส่วนนี้เราจะต้องตรวจเช็คให้ดีมากๆเลยนะครับ
ระยะเวลาการส่งมอบ
ระยะเวลาในการส่งมอบคือระยะเวลาที่ถูกกำหนดและตกลงกันไว้สำหรับผู้ซื้อและผู้ขายว่าเราจะทำการโอนบ้านให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาเท่านี้ซึ่งโดยปกติระยะเวลาตรงนี้ก็จะอยู่ที่ 1 เดือนไม่เกิน 2 เดือนเป็นต้นไปครับ ทำไมถึงต้องกำหนดระยะเวลาตรงนี้ขึ้นมาก็เพื่อที่จะป้องกันผลประโยชน์สำหรับผู้ขายว่าไม่ให้ระยะเวลายืดยาวจนเกินไปจนเสียโอกาสการขายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ครับ
เงื่อนไขอื่นๆในสัญญา
เงื่อนไขอื่นๆในสัญญาก็จะเป็นรายละเอียดยิบย่อยที่จะเพิ่มเติมเข้ามาครับเช่นบ้านหลังนี้แถมอะไรให้บ้างคอนโดห้องนี้มีสภาพเป็นยังไง เฟอร์นิเจอร์อันไหนให้บ้างเฟอร์นิเจอร์อันไหนไม่ให้บ้างและละเอียดต่างๆนี้ผู้ขายสามารถกำหนดให้ผู้ซื้อได้เลยครับ
เงื่อนไขการผิดสัญญา
ในส่วนนี้เป็นอีกหนึ่งส่วนสำคัญครับที่ต้องระบุไว้ให้อย่างละเอียดเลยว่าไม่ว่าจะเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายถ้าหากว่ามีการทำผิดสัญญาจะต้องมีการเรียกปรับนะครับในส่วนของผู้ซื้อนั้นอาจจะเป็นการยึดเงินมัดจำที่ให้ไว้ในสัญญาฉบับนี้หากเกิดทำผิดข้อกำหนดครับไม่ว่าจะเป็นไม่ยอมโอน เปลี่ยนใจหรืออะไรก็แล้วแต่ครับ แต่ในฐานะผู้ซื้อหากผู้ขายทำผิดสัญญาเราสามารถเอาสัญญาฉบับนี้ไปฟ้องผู้ขายได้และดำเนินคดีตามกฎหมายครับในฐานะที่เขาทำผิดสัญญาซึ่งควรจะมีรายละเอียดการเรียกร้องความเสียหายไว้ในสัญญาฉบับนี้ด้วยนะครับ
เซ็นรับรองเอกสารทุกหน้าและท้ายสัญญา ทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
เรื่องสุดท้ายที่ต้องมีทุกหน้าเลยนะครับคือการเซ็นสัญญารับรองไม่ว่าจะเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายครับและถ้าให้ผมแนะนำก็คือคุณควรจะเซ็นสัญญาทุกหน้านะครับเพื่อให้มีผลบังคับใช้จริงตามกฎหมายทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย โดยสัญญาจะซื้อจะขายเนี่ยจะต้องมีการทำกันทั้งหมด 2 ฉบับนะครับผู้ซื้อเก็บไว้ 1 ฉบับและผู้ขายเก็บไว้ 1 ฉบับ
ทั้งหมดนี้ก็เป็นรายละเอียดต่างๆที่สำคัญมากๆในสัญญาจะซื้อจะขายนะครับ ดังนั้นแล้วผมสรุปให้ทุกคนฟังอีกทีนะครับ ถ้าเราเป็นคนที่กำลังจะขายบ้าน หรือ จะซื้อบ้านเน้นว่าเป็นมือสองนะครับเราควรที่จะศึกษาเกี่ยวกับสัญญาจะซื้อจะขายไว้ให้ดี และทุกครั้งที่มีการซื้อขายบ้านหรือคอนโดทุกครั้ง เราจำเป็นต้องอ่านรายละเอียดในสัญญาจะซื้อจะขายให้อย่างระเอียดมากๆเลยนะครับ เพราะถ้าไม่อ่านโดยละเอียดแล้วเราอาจโดนทั้งผลักภาระค่าใช้จ่ายบางตัวที่เราไม่ควรต้องออก หรือโดนตุกติกบางอย่างจนเสียเงินมัดจำไป ดังนั้นเแล้วผมยืนยันนะครับว่าก่อนนจะวางมัดจำและก่อนจะเซ็นสัญญาเราต้องอ่านให้รอบคอบมากๆเลยนะครับ
แต่สำหรับใครที่ซื้อขายบ้านมือสองผ่าน Agent อสังหาริมทรัพย์โดยส่วนมากเขาจะมีการจัดเตรียมสัญญาจะซื้อจะขายให้เราเรียบร้อยแล้วครับ แต่อย่างไรก็ดีเราก็ควรที่จะศึกษาและสอบถามเงื่อนไขต่างๆให้ครบถ้วนก่อนที่เราจะเซ็นสัญญานะครับ

สัญญาจะซื้อจะขาย สัญญาซื้อขายบ้าน ขายบ้าน

สัญญาจะซื้อจะขายบ้านคืออะไร สำคัญขนาดไหนสำหรับคนที่จะซื้อขายบ้าน | Guru Living

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *