Home » #คนไร้รัฐไร้สัญชาติ #คนไม่มีสัญชาติไทย #ไม่มีสถานะทางทะเบียน #มีสิทธิอะไรบ้าง (023) | ข้อดี ข้อเสีย ของการ จดทะเบียน รับรองบุตร

#คนไร้รัฐไร้สัญชาติ #คนไม่มีสัญชาติไทย #ไม่มีสถานะทางทะเบียน #มีสิทธิอะไรบ้าง (023) | ข้อดี ข้อเสีย ของการ จดทะเบียน รับรองบุตร

#คนไร้รัฐไร้สัญชาติ #คนไม่มีสัญชาติไทย #ไม่มีสถานะทางทะเบียน #มีสิทธิอะไรบ้าง (023)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ที่นำความรู้เรื่องต่างๆมาเล่าให้ฟัง ผมก็ไม่มีความรู้มากพอและไม่มีประสบการณ์ทุกด้าน ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ ไม่ได้คาดหวังเพื่อรับผลประโยชน์ ไม่ได้ทำมาเพื่อการค้า เพียงแต่ด้วยความหวังดีที่เห็นใจทุกท่านในฐานะที่ผมและทุกท่านคือคนฐานะเดียวกัน ประเภทเดียวกัน อยากแบ่งปันสิ่งที่ตัวเองรู้ สิ่งที่ตัวเองเคยประสบมา แม้แต่ไม่เคยรู้มาก่อนก็พยายามไปค้นหามาผสมผสานกันเพื่อให้ประติประต่อกันออกมาเป็นคลิปๆหนึ่ง บางทีใช้เวลานานหลายวันกว่าจะได้ความยาวของคลิปไม่ถึง 20 นาที
ฉะนั้น หากผมพูดผิดตกปกพร่องตรงไหน ควรแก้ไขยังไง ขออภัยมา ณ. ที่นี้ด้วยครับ และกรุณาแนะนำด้วยนะครับ
ส่วนมาก ท่านที่ถือบัตร หัว 6 78 0.89 หรือหัว 0.00 ไม่เคยรู้เลยว่า ตนเองมสิทะ์อะไรบ้าง สามารถใช้ได้อย่างไรบ้าง ทั้งยังไม่เคยอ่านจากที่ไหน ไม่เคยติดตามฟังจากท่านที่รู้ในสื่อต่างๆ ไม่ว่าทาง Page FaceBookline เป็นต้น ในคลิปนี้ ผมได้หาข้ามูลจากหลายด้าน ทั้งในGogle+ Page + FaceBook ตามที่ท่านผู้รู้ ฟู้ชำนาญเรื่องนี้โดยเฉพาะ มาเล่าสู่กันฟัง ณ. วันนี้ ( วันที่ 8 ก.ค 2564 ) ยังคงมีสิทธิตามที่เล่ามาครับ แต่จากนี้ไป อาจมีการเปลี่ยนแปลง เพราะรัฐบาลทุกยุคทุกสมัยก็มีการแก้ไขกฎหมายด้านนี้เสมอนะครับ
ผมจะพยายามค้นหาข้อมูลเรื่องในทุกๆด้าน นำมารวมกัน ณ. ที่นี้ ขอให้ทุกท่านติดตามต่อไปครับ
ส่วนมากผมจะทำคลิปเรื่อง คนไร้รัฐไร้สัญชาติ คนไม่มีสัญชาติไทย ไม่มีสถานะทางทะเบียน เป็นภาษาไทย เพื่อเพื่อนๆทุกกลุ่มชาติพันธ์ฟังได้ เข้าใจได้ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จรีง ฉะนั้นสำหรับภาษาของตนคือภาษาไทยใหญ่นั้นอาจมีน้อยลงนะครับ

#คนไร้รัฐไร้สัญชาติ #คนไม่มีสัญชาติไทย #ไม่มีสถานะทางทะเบียน #มีสิทธิอะไรบ้าง (023)

การจดทะเบียนรับรองบุตร ทำไมต้องจด ใช้เอกสารอะไรบ้าง


การจดทะเบียนรับรองบุตร ต้องทําอย่างไร,
การจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสมรส,
การจดทะเบียนรับรองบุตรทําอย่างไร,
การจดทะเบียนรับรองบุตร อายุ,
การจดทะเบียนรับรองบุตรมีกี่วิธี,
การจดทะเบียนรับรองบุตร ทําที่ไหน,
การจดทะเบียนรับรองบุตร ขั้นตอน,
การจดทะเบียนรับรองบุตร หลักฐานที่ต้องใช้,
จดทะเบียนรับรองบุตร
การจดทะเบียนรับรองบุตร หลักฐานที่ต้องใช้,
การจดทะเบียนรับรองบุตร มีประโยชน์อย่างไร
การจดทะเบียนรับรองบุตรของบิดา,
การจดทะเบียนรับรองบุตรกรณีบิดาเสียชีวิต,
การจดทะเบียนรับรองบุตร ต้องทําอย่างไร,
การจดทะเบียนรับรองบุตร คือ,

การจดทะเบียนรับรองบุตร ทำไมต้องจด ใช้เอกสารอะไรบ้าง

#จดทะเบียนรับรองบุตร


จดทะเบียนรับรองบุตร คืออะไร???
ทำไม??? ต้องจดทะเบียน
แล้วต้องทำอย่างไร
ทำได้กี่วิธี
ผมมีคำตอบ…

#จดทะเบียนรับรองบุตร

การรับมรดกที่ดิน เมื่อเจ้าของที่ดินเสียชีวิต มีขั้นตอนอย่างไร


การรับมรดกที่ดิน เมื่อเจ้าของที่ดินหรือผู้มีชื่อในเอกสารเกี่ยวกับที่ดิน ( เช่น โฉนดที่ดิน หรือ น.ส.๓ หรือ น.ส.๓ ก. หรือ น.ส.๓ ข.) ตายลงไป ที่ดินแปลงนั้นก็จะเป็นมรดก ซึ่งจะตกทอดแก่ทายาทของผู้ตาย โดยสิทธิตามกฎหมายหรือโดยพินัยกรรมที่เจ้ามรดกทำไว้
ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมายหรือทายาทโดยธรรมมี ๖ ลำดับ แต่ละลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลัง ดังต่อไปนี้
๑. ผู้สืบสันดาน (บุตร, หลาน, เหลน, ลื้อ)
๒. บิดา มารดา
๓. พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
๔. พี่น้องร่วมบิดา หรือร่วมมารดาเดียวกัน
๕. ปู่ ย่า ตา ยาย
๖. ลุง ป้า น้า อา
คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ถือเป็นทายาทโดยธรรม มีสิทธิรับมรดกร่วมกับทายาทโดยธรรมทั้ง ๖ ลำดับ
โดยผู้มีสิทธิได้รับมรดกที่ดินจะต้องไปขอจดทะเบียนรับโอนมรดกที่ดินนั้นที่สำนักงานที่ดินจังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ในกรณีมีเอกสารเป็นโฉนดที่ดิน น.ส. ๓ ข. และสำนักงานที่ดินอำเภอ ในกรณีมีเอกสารเป็น น.ส.๓, น.ส.๓ ก. ถ้าท้องที่ใดที่ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกเลิกอำนาจหน้าที่ของนายอำเภอเกี่ยวกับการปฏิบัติการตามกฎหมายที่ดินแล้ว ไม่ว่าที่ดินจะเป็นโฉนดที่ดิน น.ส.๓ หรือ น.ส. ๓ ก.,น.ส.๓ ข. จะต้องไปขอจดทะเบียนที่สำนักงานที่ดินจังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขาที่ที่ดินตั้งอยู่
หลักฐานที่ต้องนำไปประกอบการขอรับมรดก คือ
โฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองทำประโยชน์
บัตรประจำตัว
ทะเบียนบ้าน
หลักฐานการตายของเจ้ามรดก เช่น มรณบัตร
พินัยกรรม (ถ้ามี)
ถ้าผู้ขอ ขอรับมรดกในฐานะเป็นคู่สมรส ต้องมีหลักฐานการสมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย
ถ้าผู้ขอรับมรดกเป็นบิดาเจ้ามรดก ต้องมีทะเบียนสมรสกับมารดาของเจ้ามรดกหรือหลักฐานการรับรองบุตร
กรณีบุตรบุญธรรมเป็นผู้ขอรับมรดก ต้องแสดงหลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
ถ้ามีกรณีพิพาทเกี่ยวกับมรดก ต้องนำสัญญาประนีประนอมยอมความหรือคำพิพากษาอันถึงที่สุดไปแสดง
ถ้ามีผู้มีสิทธิรับมรดกร่วมกันหลายคน บางคนได้ถึงแก่กรรมไปแล้ว ต้องมีหลักฐานการตายของทายาทนั้น ๆ

ในกรณีที่มีผู้จัดการมรดก หลักฐานที่ต้องนำไป คือ
คำสั่งศาลหรือคำพิพากษาของศาล หรือพินัยกรรมซึ่งตั้งให้ผู้ขอเป็นผู้จัดการมรดก
หลักฐานการตายของเจ้ามรดก
ทะเบียนบ้าน และบัตรประจำตัวของผู้จัดการมรดก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์

ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน
ค่าคำขอ แปลงละ ๕ บาท
ค่าประกาศมรดก แปลงละ ๑๐ บาท
ค่าจดทะเบียนผู้จัดการมรดก แปลงละ ๕๐ บาท
ค่าจดทะเบียนโอนมรดก ร้อยละ ๒ ตามราคาประเมินทุนทรัพย์
ในกรณีโอนมรดกระหว่างผู้บุพการีกับผู้สืบสันดาน หรือระหว่างคู่สมรส เรียกตามราคาประเมินทุนทรัพย์ ร้อยละ ๐.๕

การรับมรดกที่ดิน เมื่อเจ้าของที่ดินเสียชีวิต มีขั้นตอนอย่างไร

คุณผู้หญิงไม่รู้คือพลาดมาก การไม่จดทะเบียนสมรส จะส่งผลต่อการใช้ชีวิตในอนาคต


โดยเฉพาะคุณผู้หญิงทั้งหลายที่แต่งงานแล้ว เรื่องนี้ควรรู้เป็นอย่างยิ่งเลยล่ะค่ะ ถ้าหากคุณเป็นบุคคลหนึ่งที่อยู่กินกับสามีโดยที่ไม่ได้จด ทะเบียนสมรส กัน

คุณผู้หญิงไม่รู้คือพลาดมาก การไม่จดทะเบียนสมรส จะส่งผลต่อการใช้ชีวิตในอนาคต

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *