Home » กฎหมายมรดก | กฎหมายมรดก

กฎหมายมรดก | กฎหมายมรดก

กฎหมายมรดก


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

1:50 💰กองมรดก
5:56 หนี้สินก็ตกทอดแก่ทายาทได้!!! แต่ตกทอดสู่ทายาทเพียงไม่เกินทรัพย์มรดกที่ได้รับ
7:30 สิ่งที่ตกทอดเป็นมรดกไม่ได้
8:43 ทายาทในกองมรดก
9:43 📜ทายาทโดยธรรม
11:05 ลำดับการรับมรดกของทายาทโดยธรรม
25:24 กรณีมีผู้รับมรดกแทนที่
28:50 ทายาทโดยธรรมลำดับที่ 1 และ 2 มีสิทธิรับมรดกร่วมกัน
กฎหมาย พินัยกรรม กฎหมายมรดก

กฎหมายมรดก

Laglott กฎหมายมรดกที่ต้องรู้ พร้อมดูตัวอย่างการคำนวณ


หากไม่อยากเสียความรู้สึก ควรรู้เรื่องนี้เป็นอย่างยิ่ง
Laglott คืออะไร เกี่ยวข้องกับชีวิตคู่ของเรากับคนสวีเดนอย่างไร ลองมาฟังดูค่ะ
ปรารถนาดี
มะกรูด

Laglott กฎหมายมรดกที่ต้องรู้ พร้อมดูตัวอย่างการคำนวณ

เจ้าของมรดกไม่ได้ทำพินัยกรรมใครจะได้รับมรดก


เจ้าของมรดกไม่ได้ทำพินัยกรรมใครจะได้รับมรดก

เมื่อทรัพย์มรดกไม่ได้แบ่ง แล้วเจ้ามรเกตาย ทายาทจะต้องทำยังไง


เมื่อทรัพย์มรดกไม่ได้แบ่ง แล้วเจ้ามรเกตาย ทายาทจะต้องทำยังไง

เมื่อทรัพย์มรดกไม่ได้แบ่ง แล้วเจ้ามรเกตาย ทายาทจะต้องทำยังไง

กฎหมาย มรดก : การแบ่งมรดก ทายาทโดยธรรม (ที่เป็นญาติ)


กฎหมาย มรดก : การแบ่งมรดก ทายาทโดยธรรม (ที่เป็นญาติ)
ทรัพย์มรดก
ทายาท
ผู้มีสิทธิรับมรดก
ทายาทโดยธรรม
ผู้รับพินัยกรรม
ผู้รับมรด​ก
แบ่งมรดก
กองมรดก
กฎหมายมรดก​
เข้าใจการแบ่งมรดก​
แบ่งมรดก
หลักกฎหมาย​มรดก
ความรู้การแบ่งมรดก​
การตายของเจ้ามรดก​
การตกทอดของมรดก
ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดก​
การแบ่งมรดกระหว่างผู้รับพินัยกรรมกับทายาทโดยธรรม​
การแบ่งมรดกระหว่างทายาทโดยธรรรมที่เป็นญาติ
แบ่งมรดกระหว่างทายาทโดยธรรมที่เป็นญาติกับคู่สมรส
มรดกคู่สมรส
​เจ้ามรดก
​ปัญหามรดก
​พินัยกรรม
ผู้รับพินัยกรรม
ทายาทโดยธรรม
​ตกแก่แผ่นดิน
​มรดก_อาจารย์ฝน
ทายาทโดยธรรม ที่มีสิทธิรับมรดก (มาตรา 1629)
มี 2 ประเภท คือ ทายาทโดยธรรม ที่เป็นญาติ (มาตรา 1629 วรรค 1) และ ทายาทโดยธรรม ที่เป็นคู่สมรส (มาตรา 1629 วรรค 2)
ถ้ามีมรดกให้แบ่งแก่ ทายาทโดยธรรม และเจ้ามรดกมีทั้ง ทายาทโดยธรรม ที่เป็นญาติ และ ทายาทโดยธรรม ที่เป็นคู่สมรส … ยังไง ทายาทโดยธรรม ที่เป็นคู่สมรส จะได้รับส่วนแบ่งมรดกแน่นอน แต่จะได้รับมากน้อยเท่าไหร ขึ้นอยู่กับว่า ทายาทโดยธรรม ที่เป็นคู่สมรส จะได้แบ่งกับ ทายาทโดยธรรม ที่เป็นญาติลำดับใด (มาตรา 1635)
ดังนั้นก่อนที่จะแบ่งมรดกให้กับ ทายาทโดยธรรม ที่เป็นคู่สมรส จะต้องตัด ทายาทโดยธรรม ที่เป็นญาติ ให้เหลือเพียงลำดับเดียวเท่านั้น (มาตรา 1630 ) แล้วจึงแบ่งมรดกระหว่างทายาทโดยธรรมที่เป็นญาติลำดับนั้น กับ ทายาทโดยธรรมที่เป็นคู่สมรส
การตัดทายาทโดยธรรม ที่เป็นญาติ ให้เหลือเพียงลำดับเดียวตามที่กฎหมายกำหนด (มาตรา 1630)
คือ ถ้ามีทายาทโดยธรรมที่เป็นญาติลำดับบนจะตัดสิทธิทายาทโดยธรรมที่เป็นญาติลำดับล่าง
…เว้นแต่…ถ้าทายาทโดยธรรมที่เป็นญาติลำดับที่ 1 คือ ผู้สืบสันดาน จะไม่ตัดสิทธิ ทายาทโดยธรรมลำดับที่ 2 คือ บิดามารดา และให้บิดามารดาได้รับส่วนแบ่งเหมือนกับเป็นผู้สืบสันดาน

กฎหมาย มรดก : การแบ่งมรดก ทายาทโดยธรรม (ที่เป็นญาติ)

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *