Home » โรคอัลไซเมอร์ ตอนที่ 2 by หมอแอมป์ | อั ล ไซ เม อ ร์ อาการ

โรคอัลไซเมอร์ ตอนที่ 2 by หมอแอมป์ | อั ล ไซ เม อ ร์ อาการ

โรคอัลไซเมอร์ ตอนที่ 2 by หมอแอมป์


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

รายการ สุขใจใกล้หมอ\”ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์\”
ตอน \”โรคอัลไซเมอร์\” ตอนที่ 2
โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36
http://www.barso.or.th
(สมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ)
🌐http://www.dramp.com
➡️Instagram: DrAmp Team
➡️Spotify: Dr.Amp Team
© drampCopyright 2020
เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย
ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

โรคอัลไซเมอร์ ตอนที่ 2 by หมอแอมป์

“อัลไซเมอร์” อาการป่วยที่คนรอบข้างควรใส่ใจ : Rama Square ช่วง นัด กับ NURSE 10 เม.ย.60 (3/4)


นัด กับ NURSE
“อัลไซเมอร์”
อาการป่วยที่คนรอบข้างควรใส่ใจ
คุณทิพเนตร งามกาละ
ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง
สาขาอายุรศาสตร์ศัลยศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล
ติดตามรายการได้ทุกวันจันทร์ศุกร์
ออกอากาศสดผ่าน Facebook Fanpage เวลา 12.00 13.00 น.
โดยคุณผู้ชมสามารถรับชมรามาแชนแนลได้ที่ช่อง True Visions 42 หรือ
ทางเว็บไซต์ www.ramachannel.tv และ www.youtube.com/ramachanneltv
ออกอากาศวันที่ 10 เมษายน พ.ศ.2560

“อัลไซเมอร์” อาการป่วยที่คนรอบข้างควรใส่ใจ : Rama Square ช่วง นัด กับ NURSE 10 เม.ย.60 (3/4)

โรคอัลไซเมอร์ ตอนที่ 3 by หมอแอมป์


รายการ สุขใจใกล้หมอ\”ใกล้หมอชะลอวัยกับหมอแอมป์\”
ตอน \”โรคอัลไซเมอร์\” ตอนที่ 3
โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
ออกอากาศทางช่อง PPTV HD 36
http://www.barso.or.th
(สมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ)
🌐http://www.dramp.com
➡️Instagram: DrAmp Team
➡️Spotify: Dr.Amp Team
© drampCopyright 2020
เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย
ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์

โรคอัลไซเมอร์ ตอนที่ 3 by หมอแอมป์

อัลไซเมอร์กับผู้สูงวัย… สู้ด้วยพลังใจคนใกล้ตัว | บำรุงราษฎร์


บำรุงราษฎร์ Bumrungrad อัลไซเมอร์ Alzheimer อาการหลงลืม
แม้ว่าโรคอัลไซเมอร์จะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่การดูแลเอาใจใส่ของครอบครัว หรือคนใกล้ชิด ก็สามารถทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขได้นะคะ ส่วนการดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์จะทำอย่างไรได้บ้างนั้น มาหาคำตอบกันได้เลยค่ะ อ่านเพิ่มเติม http://bit.ly/2JcLmBK
📍 ติดตามสาระความรู้เรื่องสุขภาพดีๆ จากโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ได้อีกหลายช่องทางดังนี้
📌 Facebook : http://bit.ly/2Qh1wzy
📌 Line : http://bit.ly/2q05DW9
📌 IG : http://bit.ly/2rE89S9
📌 Twitter : http://bit.ly/2QeU5J4
📌 Inquiry form : http://bit.ly/375Xtfg

อัลไซเมอร์กับผู้สูงวัย... สู้ด้วยพลังใจคนใกล้ตัว | บำรุงราษฎร์

\”5 ปัจจัยเสี่ยง โรคอัลไซเมอร์\” : หมอแนะ : รายการคุยกับหมออัจจิมา


รายการ \”คุยกับหมออัจจิมา\”
หมอแนะ ตอน 5 ปัจจัยเสี่ยง โรคอัลไซเมอร์
โดย พญ.นฤมล ทองศรีเนียม
ออกอากาศทาง Nation ช่อง 22
เมดดิไซด์ อัจจิมา สหคลินิก
แพทย์หญิงอัจจิมา สุวรรณจินดา
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน ผ่าตัดผิวหนัง มะเร็งผิวหนังและเลเซอร์ผิวหนัง
โทรศัพท์ : 029549440
Hot Line : 0899006100
Line : @medisci

• Facebook : https://www.facebook.com/Medisci
• Web site : https://www.mediscicenter.com
• Email : [email protected]
•Twitter : https://www.Twitter.com/Medisci
โรค \”อัลไซเมอร์\” เป็นโรคในกลุ่มของภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด เป็นโรคที่ส่งผลต่อความจำ การเรียนรู้ ความรู้สึกนึกคิด และรวมไปถึงการแสดงออกทางพฤติกรรมของผู้ป่วย หลายๆคนอาจจะเข้าใจว่า ความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคอัลไซเมอร์ที่สำคัญที่สุด มาจากพันธุกรรม แต่พบว่า จริงๆแล้ว มีผู้ป่วยอัลไซเมอร์เพียง 5% จากผู้ป่วยทั้งหมดเท่านั้น ดังนั้นความเสี่ยงของการเกิด \”โรคอัลไซเมอร์\” จะมาจากสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมการใช้ชีวิต ซึ่งวันนี้ได้รวบรวม 4 ปัจจัยเสี่ยงสำคัญ ที่ก่อให้เกิดโรคอัลไซเมอร์ ดังนี้
1.น้ำตาล มีการศึกษาพบว่าการกินน้ำตาล ของหวาน รวมไปถึงอาหารจำพวกแป้งขัดขาวบ่อยๆ จะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ร่างกายหลั่งฮอร์โมนอินซูลินมาก ทำให้ไปกระตุ้นการสะสมโปรตีน ตัวหนึ่งในสมอง ที่ชื่อว่า \”บีตา แอมีลอยด์\” นำไปสู่การเกิดโรคอัลไวเมอร์ในที่สุด ในคนที่พบว่ามีระดับน้ำตาลในเลือดสูง หรือเป็นโรคเบาหวาน ก็จะมีความเสี่งสูงที่จะเป็นโรคอัลไซเมอร์
2.การสะสมสารพิษ โลหะหนัก ในร่างกาย โดยเฉพาะกลุ่มสารปรอท สารตะกั่ว แคดเมียม และอลูมีเนียม ซึ่งในปัจจุบัน เรามักพบสารเหล่านี้ปนเปื้อนมาในน้ำดื่ม เครื่องสำอางค์ วัสดุอุดฟัน ย่าฆ่าแมลง ยากำจัดศัตรูพืช มลพิษทางอากาศ รวมไปถึงควันบุหรี่ด้วย
3.การขาดสารอาหาร โดยเฉพาะ วิตามินบี 6 วิตามินบี 12 และกรดโฟลิก การขาดสารอาหารทั้ง 3 ตัวนี้ จะทำให้\”ฮอร์โมนซีสเตอีน\”ขึ้นสูง ซึ่งเจ้าฮอร์โมนนี้เป็นพิษต่อเซลล์ในสมอง และทำให้เกิดการอักเสบในหลอดเลือด ซึ่งนอกจากจะทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันเเล้ว ยังเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดโรคอัลไซเมอร์อีกด้วย
4.ในผู้ที่มีประวัติการบาดเจ็บที่ศรีษะ ประสบอุบัติเหตุ การผ่าตัดสมอง หรือการบาดเจ็บเล็กๆน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง การเล่นกีฬาที่อาจทำให้เกิดการกระทบที่ศรัษะบ่อยๆ เช่น การเล่นกีฬา การชกมวย
การเล่นฟุตบอล หรือกีฬาผาดโดน การบาดเจ็บที่ศรีษะเหล่านี้ จะส่งผลให้สมองเกิดความเสียหาย เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์ตามมา
5.ขาดการออกกำลังกาย มีการศึกษาพบว่าในผู้สูงอายุ ที่ขาดการออกกำลังกาย ใช้ชีวิตประจำวันแบบนั่งๆ นอนๆ จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้ ในทางกลับกัน การออกกำลังกายเป็นประจำ
ก็เป็นตัวที่ช่วยป้องกัน การเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้เช่นเดียวกันค่ะ

\

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *