Home » เงินได้พึงประเมิน มาตรา40(1)-(8) | อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล 2560 ใหม่

เงินได้พึงประเมิน มาตรา40(1)-(8) | อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล 2560 ใหม่

เงินได้พึงประเมิน มาตรา40(1)-(8)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

วิดีโอนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการภาษีอากร
เสนอ อาจารย์มลฤดี วัฒนอังกูร
นางสาวโชติรส เตโช เลขที่7
นางสาวสุทธิลักษณ์ จันทร์กระจ่าง เลขที่8
นางสาวขวัญจิรา กระจ่าง เลขที่9
นางสาวพัสราภรณ์ ดำรงค์รัตน์ เลขที่12

เงินได้พึงประเมิน มาตรา40(1)-(8)

อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบปี 2560สำหรับกรอก ภงด50


รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 773 Yellowการบัญชี www.yellowaccounting.com โดย อ.มานพ สีเหลือง และ อ.เจี๊ยบ โทร 0970091656 หรือไลน์ Yellow_Accounting

อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบปี 2560สำหรับกรอก ภงด50

เรื่องเล่าเช้านี้ ครม.ไฟเขียวปรับโครงสร้างภาษี เงินเดือนไม่ถึง 2.6 หมื่น ไม่ต้องเสียภาษี


ครม.เห็นชอบปรับโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยหักค่าใช้จ่ายเพิ่มได้ 1 แสนบาท เงินเดือนไม่ถึง 26,000 บาท ไม่ต้องเสียภาษี บังคับสำหรับเงินได้พึงประเมินในปีภาษี 2560 เป็นต้นไป
รายละเอียดเพิ่มเติม http://morningnews.bectero.com/economy/20Apr2016/77964

เรื่องเล่าเช้านี้ (Morning News) 20 เมษายน 2559
ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารได้ก่อนใครได้ที่นี่
เรื่องเล่าเช้านี้.com : http://morningnews.bectero.com
facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3
Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3

เรื่องเล่าเช้านี้ ครม.ไฟเขียวปรับโครงสร้างภาษี เงินเดือนไม่ถึง 2.6 หมื่น ไม่ต้องเสียภาษี

รายการลดหย่อนภาษี 2559 สำหรับมนุษย์เงินเดือน


ผู้สื่อข่าวไทยพีบีเอสแนะนำการตรวจสอบค่าลดหย่อนภาษีเงินได้บุคลธรรมดาสำหรับมนุษย์เงินเดือน ที่หลายคนเริ่มเตรียมยื่นภาษีกันแล้ว โดยสามารถนำหักค่าใช้จ่ายไปหักได้สูงสุดถึงร้อยละ 40

รายการลดหย่อนภาษี 2559 สำหรับมนุษย์เงินเดือน

#ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) คืออะไร ยื่นเมื่อไร ประมาณการยังไง พร้อมตัวอย่างคำนวณภาษี


ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) คืออะไร ยื่นเมื่อไร ประมาณการขาดเกินยังไง พร้อมตัวอย่างคำนวณภาษีปี 2564 และวิธีนำส่งให้กับกรมสรรพากรครับผม
หลักการของภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีนั้น ต้องย้อนกลับไปเล่าก่อนว่า ภาษีครึ่งปีเป็นการจ่ายภาษีเงินได้ \”ล่วงหน้า\” โดยคำนวณจากกำไรที่เกิดขึ้นในช่วงครึ่งปีที่ผ่านมา
โดยภาษีครึ่งปีที่จ่ายไป สามารถนำไปใช้หักออกจากภาษีสิ้นปีที่คำนวณได้ เช่น บริษัทเราจ่ายภาษีครึ่งปีไปแล้ว 50,000 บาท พอสิ้นปีคำนวณภาษีได้ 80,000 บาท ก็จ่ายภาษีเพิ่มแค่ 30,000 บาทเท่านั้น (80,000 50,000)
นอกจากภาษีครึ่งปีแล้ว ยังสามารถนำภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่ถูกหักไว้มาใช้หักออกจากภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปีด้วยนะครับ
โดยผู้มีหน้าที่ยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี คือ บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนที่เข้าเงื่อนไขทั้ง 2 ข้อนี้
1. จัดตั้งและจดทะเบียนในประเทศไทย
2. ปีนี้มีรอบบัญชีครบ 12 เดือน และยังดำเนินกิจการอยู่
ซึ่งกฎหมายกำหนดให้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล มีหน้าที่ยื่นภาษีครึ่งปีไว้ภายใน 2 เดือนหลังจากรอบครึ่งปีครับ ยกตัวอย่างเช่น
รอบบัญชี 1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2564 จะต้องยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีภายใน 31 ส.ค. 2564 (ถ้ายื่นผ่านอินเตอร์เน็ต +8 วัน ได้ถึงวันที่ 8 กันยายน 2564)
ส่วนชื่อแบบแสดงรายการที่ใช้ยื่นภาษี จะใช้แบบที่ชื่อว่า ภ.ง.ด. 51
วิธีการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี ตามหลักกฎหมายเขาจะกำหนดไว้ให้ธุรกิจทั่วไปที่ไม่ใช่บริษัทที่จดทะเบียน (ในตลาดหลักทรัพย์) ธนาคาร หรือหลักทรัพย์ต่างๆ คำนวณจากวิธีที่เรียกว่า ประมาณการกำไรสุทธิ ซึ่งวิธีคิดจะเป็นดังนี้
(ประมาณการกำไรสุทธิทั้งปี ขาดทุนสะสม หรือ กำไรที่ยกเว้น) หลังจากนั้นให้หาร 2 แล้วคูณด้วยอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลได้เลย
แต่ประเด็นปัญหาในการคำนวณวิธีนี้ คือ มันจะมีเรื่องของการประมาณการกำไรขาดเกิน ในกรณีที่ใช้วิธีประมาณการแล้วพบว่ากำไรที่ประมาณไว้ขาดเกินไปกว่า 25% ของกำไรจริงที่เกิดขึ้นตอนปลายปี จะมีภาระเรื่องเสียเงินเพิ่มในอัตรา 20% ของภาษีที่ชำระขาดไปด้วย
คลิปนี้จะสอนทุกอย่างที่ต้องรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีให้ทราบกันครับ

#ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) คืออะไร ยื่นเมื่อไร ประมาณการยังไง พร้อมตัวอย่างคำนวณภาษี

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *