Home » ล่าสุด! ”ความซวย’มาเยือน!! งานเข้า ส.ส.รัฐบาล ทำกร่างไม่ออก เจอ.ของจริง โดน’ซัดไม่ยั้ง!! | ขอ คืน ภาษี นิติบุคคล

ล่าสุด! ”ความซวย’มาเยือน!! งานเข้า ส.ส.รัฐบาล ทำกร่างไม่ออก เจอ.ของจริง โดน’ซัดไม่ยั้ง!! | ขอ คืน ภาษี นิติบุคคล

ล่าสุด! ”ความซวย’มาเยือน!! งานเข้า ส.ส.รัฐบาล ทำกร่างไม่ออก เจอ.ของจริง โดน’ซัดไม่ยั้ง!!


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ข่าวการเมือง ข่าวการเมืองไทยล่าสุด Overview วอยซ์ทีวี ข่าววอยซ์ ข่าวด่วน ข่าวการเมือง การเมืองไทยล่าสุด ม็อบชุมนุมล่าสุด ข่าวชุมนุมล่าสุด. การเมือง ลุงตู่ ลุงป้อม พลังประชารัฐ อนุทิน สิระล่าสุด บิ๊กป้อม บิ๊กตู่ ภมิใจไทย ข่าวปารีณา ประยุทธ์ โทนี่ล่าสุด ทักษิณล่าสุด ประวิตร ทักษิณ โทนี่ล่าสุด ทักษิณล่าสุด
ทางช่องเรา \” จะอัปเดตข่าวสาร การบ้านการเมือง \” ให้ท่านได้รับรู้ก่อนใคร !
อย่าลืมกดติดตาม กดกระดิ่ง เพื่อจะได้ไม่พลาดชมคลิปใหม่ๆ จากทางช่องของเรา!
ข่าวการเมือง ข่าวการเมืองวันนี้ ข่าวการเมืองล่าสุด

ล่าสุด! ''ความซวย'มาเยือน!! งานเข้า ส.ส.รัฐบาล ทำกร่างไม่ออก เจอ.ของจริง โดน'ซัดไม่ยั้ง!!

#ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) คืออะไร ยื่นเมื่อไร ประมาณการยังไง พร้อมตัวอย่างคำนวณภาษี


ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) คืออะไร ยื่นเมื่อไร ประมาณการขาดเกินยังไง พร้อมตัวอย่างคำนวณภาษีปี 2564 และวิธีนำส่งให้กับกรมสรรพากรครับผม
หลักการของภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีนั้น ต้องย้อนกลับไปเล่าก่อนว่า ภาษีครึ่งปีเป็นการจ่ายภาษีเงินได้ \”ล่วงหน้า\” โดยคำนวณจากกำไรที่เกิดขึ้นในช่วงครึ่งปีที่ผ่านมา
โดยภาษีครึ่งปีที่จ่ายไป สามารถนำไปใช้หักออกจากภาษีสิ้นปีที่คำนวณได้ เช่น บริษัทเราจ่ายภาษีครึ่งปีไปแล้ว 50,000 บาท พอสิ้นปีคำนวณภาษีได้ 80,000 บาท ก็จ่ายภาษีเพิ่มแค่ 30,000 บาทเท่านั้น (80,000 50,000)
นอกจากภาษีครึ่งปีแล้ว ยังสามารถนำภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่ถูกหักไว้มาใช้หักออกจากภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปีด้วยนะครับ
โดยผู้มีหน้าที่ยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี คือ บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนที่เข้าเงื่อนไขทั้ง 2 ข้อนี้
1. จัดตั้งและจดทะเบียนในประเทศไทย
2. ปีนี้มีรอบบัญชีครบ 12 เดือน และยังดำเนินกิจการอยู่
ซึ่งกฎหมายกำหนดให้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล มีหน้าที่ยื่นภาษีครึ่งปีไว้ภายใน 2 เดือนหลังจากรอบครึ่งปีครับ ยกตัวอย่างเช่น
รอบบัญชี 1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2564 จะต้องยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีภายใน 31 ส.ค. 2564 (ถ้ายื่นผ่านอินเตอร์เน็ต +8 วัน ได้ถึงวันที่ 8 กันยายน 2564)
ส่วนชื่อแบบแสดงรายการที่ใช้ยื่นภาษี จะใช้แบบที่ชื่อว่า ภ.ง.ด. 51
วิธีการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี ตามหลักกฎหมายเขาจะกำหนดไว้ให้ธุรกิจทั่วไปที่ไม่ใช่บริษัทที่จดทะเบียน (ในตลาดหลักทรัพย์) ธนาคาร หรือหลักทรัพย์ต่างๆ คำนวณจากวิธีที่เรียกว่า ประมาณการกำไรสุทธิ ซึ่งวิธีคิดจะเป็นดังนี้
(ประมาณการกำไรสุทธิทั้งปี ขาดทุนสะสม หรือ กำไรที่ยกเว้น) หลังจากนั้นให้หาร 2 แล้วคูณด้วยอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลได้เลย
แต่ประเด็นปัญหาในการคำนวณวิธีนี้ คือ มันจะมีเรื่องของการประมาณการกำไรขาดเกิน ในกรณีที่ใช้วิธีประมาณการแล้วพบว่ากำไรที่ประมาณไว้ขาดเกินไปกว่า 25% ของกำไรจริงที่เกิดขึ้นตอนปลายปี จะมีภาระเรื่องเสียเงินเพิ่มในอัตรา 20% ของภาษีที่ชำระขาดไปด้วย
คลิปนี้จะสอนทุกอย่างที่ต้องรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีให้ทราบกันครับ

#ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) คืออะไร ยื่นเมื่อไร ประมาณการยังไง พร้อมตัวอย่างคำนวณภาษี

เปิดขายรอบใหม่ !! พันธบัตรรัฐบาลอีก 7 หมื่นล้านบาท l TNN News ข่าวเช้า l 21-11-2021


กระทรวงการคลัง เตรียมจำหน่าย พันธบัตรออมทรัพย์ รอบใหม่ วงเงิน 7 หมื่นล้านบาท เริ่มวันจันทร์ที่ 22 พฤศจิกายนนี้ ผ่านตัวแทนธนาคาร 4 แห่ง และแอปฯ เป๋าตัง
ช่องทางติดตามสถานีข่าว TNN ช่อง16
https://www.tnnthailand.com
https://tv.trueid.net/live/tnn16
https://www.youtube.com/c/tnn16
https://www.facebook.com/TNNthailand/
https://www.facebook.com/TNN16LIVE/
https://twitter.com/tnnthailand
https://www.instagram.com/tnn_online/
https://www.tiktok.com/@tnnonline
Line @TNNONLINE หรือคลิก https://lin.ee/4fP2tltIo
ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง กับ TNNช่อง16 สถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ

เปิดขายรอบใหม่ !! พันธบัตรรัฐบาลอีก 7 หมื่นล้านบาท l TNN News ข่าวเช้า l 21-11-2021

ตัวอย่างการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ที่เข้าใจง่ายที่สุด


สำหรับการคำนวณภาษีของนิติบุคคลนั้นไม่มีอะไรซับซ้อนค่ะ
อยากให้เพื่อนๆ ลองดูวิธีจากวีดีโอนี้แล้วจะทราบว่าเรื่องภาษีไม่ใช้เรื่องยากเลย
โดยในวีดีโอนี้จะแบ่งการคิดอัตราภาษีเป็น 2 ประเภท ก็คือ
1. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน ประเภท SME
2. ประเภท มหาชน
ซึ่งในวีดีโอนี้ ก็จะมาบอกวิธีการดูว่าแบบไหนคือแบบ SME และแบบไหนคือแบบมหาชน
รวมถึงวิธีการคำนวณภาษีในแต่ละแบบจาก ฐานภาษีนิติบุคคล
โดยจะมี ตัวอย่างการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ที่เข้าใจง่ายอยู่ 3 ตัวอย่าง ได้แก่
1. การคำนวณภาษีกรณีธุรกิจ ขาดทุน
2. การคำนวณภาษีกรณีธุรกิจมีกำไร แต่ไม่ถึงเพดานการเสียภาษี
3. การคำรวณภาษีกรณีธรุกิจมีกำไร และเกินเพดานการเสียภาษี
ทั้งหมดนี้จะอธิบายไว้อยู่ในวีดีโอนี้นะคะ
หาก งง ตรงไหนลองอ่านเพิ่มเติมจากบทความนี้ได้นะคะ
https://www.accountingpk.com/blog/post/21/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%83%E0%B8%88%E0%B8%87%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94
ฝากช่องทางติดตามด้วยนะคะ
เว็บไซต์ : https://www.accountingpk.com​
Facebook : https://www.facebook.com/AccountingPK
ช่อง Youtube : https://www.youtube.com/channel/UCpSTn5bGoCJXUYfZq5h5uEw

ตัวอย่างการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล ที่เข้าใจง่ายที่สุด

คำนวนภาษีเงินได้เมื่อขายที่ดิน,บ้าน,คอนโด ณ กรมที่ดิน คิดคำนวนยังไง | Guru Living


สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาคุยกันในอีกหนึ่งหัวข้อที่ได้รับความสนใจกันเป็นอย่างมากนะครับว่าการที่เราไปโอนบ้าน คอนโด หรือที่ดิน ณ กรมที่ดินเนี่ยเราจะมีค่าใช้จ่ายอะไรที่เราต้องเสียบ้างในฐานะทั้งเราเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็ตาม วันนี้ผมจะมาอธิบายค่าใช้จ่ายทุกๆอย่างโดยละเอียดเลยครับ

ก่อนอื่นเลยค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดินหากว่าเรามีการซื้อขาย บ้าน คอนโด หรือที่ดินกันจะมี 5 ตัวหลักๆครับคือ
1. ค่าธรรมเนียมการโอน
2. ค่าจดจำนอง
3. ค่าอากรแสตมป์
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
5.ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

5. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย
สำหรับผู้ขาย เมื่อขายอสังหาริมทรัพย์แล้วจะมีค่าใช้จ่ายอีกตัวนึงที่ตามมาครับ แต่ถ้าหากเราเป็นผู้ซื้อค่าใช้จ่ายนี้ไม่เกี่ยวข้องกับเรานะครับ ค่าใช้จ่ายตัวนี้คือ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเกณในการเรียกเก็บจะคิดจากราคาประเมินที่ดิน หักค่าใช้จ่ายตามอัตราที่กำหนด หารปีที่ถือครอง คูณอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ในส่วนแรกที่ต้องดูคือเราต้องดูว่าเราถือครองทรัพย์นั้นมานานกี่ปีครับ
ถือครอง 1 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 92 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 2 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 84 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 3 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 77 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 4 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 71 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 5 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 65 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 6 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 60 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 7 ปี คิดรายได้เป็นร้อยละ 55 ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ถือครอง 8 ปี ขึ้นไป คิดรายได้เป็นร้อยละ 50ของเงินได้(ราคาประเมิน)
ในกรณีเป็นทรัพย์มรดกหรืออสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับจากการให้โดยเสน่หา จะสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ถึง 50 % จากราคาประเมิณครับ

หารจำนวนปีที่เราถือครองทรัพย์นั้นครับ ยกตัวอย่างเช่นถ้าเราถือครองมา 4 ปี ก็เอา 4 ไปหารกับตัวเลขที่หักค่าลดหย่อนไปแล้ว

ขั้นตอนสุดท้าย เราต้องนำรายได้ที่เราคิดมาคำนวณอัตราภาษีเงินได้เป็นแบบขั้นบันได ตามที่กรมสรรพากรกำหนดตามนี้ครับ

เงินได้สุทธิ อัตราภาษีร้อยละ
1 300,000 บาท 5%
300,001 500,000 บาท 10%
500,001 750,000 บาท 15%
750,001 1,000,000 บาท 20%
1,000,001 2,000,000 บาท 25%
2,000,001 4,000,000 บาท 30%
4,000,001 บาท ขึ้นไป 40%

หลังจากคำนวนภาษีที่เงินได้ที่คิดมาในแต่ละปีแล้ว ให้คูณกลับจำนวนปีที่ถือครองทั้งหมดกลับไปครับเท่านี้เราก็จะรู้ภาษีที่ต้องจ่ายทั้งหมดครับ

ถ้าจนถึงตอนนี้ใครยังงงอยู่ไม่เป็นไรนะครับ เพราะสุดท้ายตัวเลขพวกนี้กรมที่ดินเขาจะคิดคำนวนออกมาให้เราครับ เพียงแต่ว่าถ้าเราสามารถคำนวนตัวเลขเหล่านี้ได้ก่อน จะทำให้เราสามารถรู้รายจ่ายที่กำลังจะเกิดขึ้น พร้อมเตรียมรับมือ วางแผนหารายได้มารองรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้ครับ
ภาษีขายบ้าน ภาษีขายที่ดิน ภาษีขายคอนโด ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีขายบ้านคํานวณ ภาษีซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ภาษีขายบ้าน2563 ภาษีขายบ้านใครจ่าย

คำนวนภาษีเงินได้เมื่อขายที่ดิน,บ้าน,คอนโด ณ กรมที่ดิน คิดคำนวนยังไง  | Guru Living

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *