Home » ประกันสังคม,การนำส่งเงินสมทบ ม.33 ผ่านระบบอิเลกทรอนิกส์ | เงินสมทบประกันสังคมมาตรา 33

ประกันสังคม,การนำส่งเงินสมทบ ม.33 ผ่านระบบอิเลกทรอนิกส์ | เงินสมทบประกันสังคมมาตรา 33

ประกันสังคม,การนำส่งเงินสมทบ ม.33 ผ่านระบบอิเลกทรอนิกส์


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

230562
สนง.ประกันสังคม
การนำส่งเงินสมทบ ม.33 ผ่านระบบอิเลกทรอนิกส์
ไทยแลนด์4.0 วันนี้นะค่ะ…
เมื่อเทคโนโลยีก้าวไทยคนไทยก็ต้องก้าวให้ทันนะค่ะ
โดยเฉพาะแรงงานกว่า13ล้านคน ที่อยู่ในระบบแรงงาน นะค่ะวันนี้สำนักงานประกันสังคม แนะนำ”นายจ้าง”..ชำระเงินเข้ากองทุนประกันสังคมให้ลูกจ้างตาม มาตรา33ผ่านระบบอิเลกทรอนิกส์..
สะดวกรวดเร็วและปลอดภัย..ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปทำธุรกิจ/ธุรกรรมที่สำนักงาน..ปลอดภัยที่ตรวจสอบได้ว่าได้ส่งเงินเข้ากองทุนฯจริง…ติดตามเกาะขบวนรถไบรท์ ไปกับป่าแหง็มได้เลย ค่ะ
///////////////////////////////////////
(ชำระเงินสมทบ)
ไทยแลนด์4.0แล้วนะครับ นายจ้างจะมัวนั่งเรียงคิวต่อแถวเพียงเพื่อชำระเงินประกันสังคมมาตรา33ให้ลูกจ้างไม่ได้แล้วนะครับ..เสียเวลาทำงานแถมยังหงุดหงิดอีกต่างหาก..ครับ..มาจ่ายเงินผ่านระบบอิเลกทรอนิกส์ดีกว่าครับ
////////////////////////
(5ธนาคารไทย3ธนาคารต่างชาติ)
บุกจู่โจมสำนักบริหารเทคโนโลยีสาระสนเทศของสำนักงานประกันสังคม ดูให้รู้ให้เห็นให้ชัด การจ่ายเงินสมทบของนายจ้างจะง่ายขนาดไหน
นายจ้างที่เป็นคนไทยก็มักจะมีบัญชีธนาคารของไทยมีธนาคารไทยที่เข้าร่วมโครงการ5ธนาคาร คือ1.ธนาคารกรุงเทพ 2.ธนาคารไทยพาณิชย์ 3.ธนาคารกรุงไทย 4.ธนาคารกสิกรไทย และ5.ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
ส่วนนายจ้างต่างชาติที่มักจะมีบัญชีธนาคารต่างประเทศมีธนาคารต่างประเทศเข้าร่วมโครงการ 3ธนาคารครับ..1.ธนาคารมิซูโฮ สาขากรุงเทพ 2.ธนาคารซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง และ3.ธนาคารซิติ้แบงค์ …
/////////////////////////////////////
(ผูกบัญชี/เข้าระบบประกันสังคม)
เมื่อมีบัญชีธนาคารทั้ง8แห่งนี้แล้วก็ให้นายจ้างไปผูกบัญชีเงินฝากไว้กับธนาคารนั้นๆครับ..ทางธนาคารก็จะให้ User name และPassword มาเพื่อใช้ loginอันนี้สำคัญนะครับเพราะต้องใช้ในขั้นตอนสุดท้าย..ของการชำระเงินสมทบผู้ประกันตนมาตรา 33 ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ePayment สามารถพิมพ์ใบเสร็จรับเงินผ่านระบบ eReceipt ผ่านเว็บไซต์ของสำนักงานประกันสังคม www.sso.go.th ได้ ครับ
///////////////////////////////////////
(ระบบNSWธ.ทหารไทยเท่านั้น)
และถ้าให้สะดวกเพิ่มขึ้นอีกนะครับ 1.นายจ้างสามารถชำระเงินสมทบผ่านระบบ NSW (National Single Windows) โดยติดต่อผ่านธนาคารทหารไทยเท่านั้น 2.ชำระโดนบัตรเดบิตหรือบัตรเครดิตมาสเตอร์การ์ดครับ
///////////////////////////////////////
(นายจ้างใหม่ทำอย่างไร)
แล้วนายจ้างมือใหม่สมัครยากไหมครับ…สำนักบริหารเทคโนโลยีสาระสนเทศของสำนักงานประกันสังคม..บอกไม่ยากครับ…หลังจากนายจ้างผูกบัญชีไว้กับธนาคารแล้วก็มาเข้าเวปไซค์ประกันสังคมคลิกคำว่าสถานประกอบการ..คลิกขอทำธุรกรรมผ่านอินเตอร์เน็ต..คลิกยอมรับ.. แล้วดำเนินการกรอกข้อมูลของนายจ้างให้ครบถ้วน..คลิกส่งข้อมูล…ระบบอิเลคทรอนิกส์ของประกันสังคมก็จะส่งเอกสารให้นายจ้างทางอีเมล์ ทันทีครับ
เมื่อนายจ้างได้รับอีเมล์ ก็ปริ๊นออกมาตอนนี้นออกจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้แล้วล่ะครับ..เพราะต้องมากรอกข้อมูล ด้วยลายมือแล้วนำส่งประกันสังคมเขตหรือประกันสังคมจังหวัด.. เจ้าหน้าที่จะตรวจเอกสารแล้วให้ User name และ Passwordแก่นายจ้าง ครับ
//////////////////////////////////
(นายจ้างมือเก่า/ยังไม่คล่อง)
ตอนนี้กลับมาที่หน้าจอคอมพิวเตอร์อีกครั้งครับให้นายจ้างใช้ User name และ Passwordที่ได้รับมาไปยังหน้า สถานประกอบการ..เข้าสู่ระบบเวปไซค์ประกันสังคม..เลือกส่งข้อมูลเงินสมทบ.. เลือกส่งเงินสมทบแบบแยกยื่น สปส.110 (1ขีด10)..คลิกลง..เลือกสาขา..คลิกดำเนินการต่อ..เลือกงวด ปี พ.ศ. เลือกวิธีการนำส่งข้อมูลแบบกรอกข้อมูล..แล้วดำเนินการต่อ
หน้านี้นะครับจะให้กรอกข้อมูลของลูกจ้างผู้ประกันตนทุกคน ที่จะนำส่งเงินสมทบ..กรอกครบแล้วก็ดำเนินการต่อ
อย่าลืมตรวจสอบข้อมูลลูกจ้างผู้ประกันตนให้ถูกต้องนะครับ..แล้วก็คลิกยืนยันส่งข้อมูล..สุดท้ายคลิกชำระเงินที่มุมล่างขวามือ เลือกชำระเงินผ่านระบบ ePayment เลือกธนาคารที่ได้ผูกบัญชีไว้ แล้วเลือกชำระเงินเป็นอันเสร็จ..ระบบอิเลคทรอนิกส์ของประกันสังคมก็จะลิ้งค์ไปที่ระบบของธนาคาร
นายจ้างยังไม่ต้องลุกจากหน้าจอคอมพิวเตอร์นะครับ..ขั้นตอนสุดท้ายแล้ว นายจ้างนำUser name และ Passwordของนายจ้างที่ธนาคารให้มา เข้าสู่ระบบของธนาคารครับ.. ดำเนินการยืนยันชำระเงินได้เลยทันที.. เป็นอันเสร็จขั้นตอนของการจ่ายเงินสมทบผู้ประกันตนมาตรา 33ครับ
พรุ่งนี้มาติดตามการจ่ายเงินสมทบผู้ประกันตนมาตรา 39 ไปพร้อมกับการพิมพ์ใบเสร็จรับเงินจากเว็บไซต์สำนักงานประกันสังคมกันต่อนะครับเจ้านายปู๊นๆ ดูน้อยลง

ประกันสังคม,การนำส่งเงินสมทบ ม.33 ผ่านระบบอิเลกทรอนิกส์

เช็คเงินสมทบประกันสังคมง่ายๆ ด้วยมือถือเพียงแค่ 1นาที


สวัสดีค่ะ ทุกคน
วันนี้เหมี่ยวขอแชร์วิธีการตรวจสอบเงินสมทบประกันสังคมที่เราจ่ายไปทุกๆ เดือนมาแนะนำให้รู้วิธีการตรวจสอบง่ายๆผ่านแอฟ Wallet บนมือถือของเราเพียงแค่ไม่กี่นาทีเองนะคะ
หวังว่าคลิปนี้จะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยนะคะสำหรับใครที่ไม่รู้จะเช็คยังไงนะคะ หากผิดพลาดยังไงก็ขออภัยด้วยนะคะ หวังว่าทุกคนคงจะชอบกันนะคะ และฝากกด Like กดแชร์ กดติดตาม (SUBSCRIBED) ให้ด้วยนะคะ
ขอบคุณมากๆค่ะ

เช็คเงินสมทบประกันสังคมง่ายๆ ด้วยมือถือเพียงแค่ 1นาที

ลูกจ้างเอกชนเงินเดือน 15,000 เกษียณได้เงินเยอะแค่ไหน


อ้างอิงจาก พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน และ พ.ร.บ.ประกันสังคม
=========================
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสัยง : PURE Studio
https://purestudio.simdif.com/

ลูกจ้างเอกชนเงินเดือน 15,000 เกษียณได้เงินเยอะแค่ไหน

ดีเซล 28 บาทต่อลิตร ขนส่งไปต่อหรือพอแค่นี้ | 25 พ.ย. 64 | FULL | NationTV22


รับชมวีดีโอที่คัดสรรจากเรา https://bit.ly/31bYdfp

อย่าลืม กด \”Subscribe\” เพื่ออัปเดตข่าวไปกับเราได้ที่
https://www.youtube.com/channel/UCIoFfVIOrRRbIWVdDhTTwg
ติดตามเนชั่นออนไลน์ได้ที่:
Website : https://www.nationtv.tv/
Facebook : https://www.facebook.com/NationOnline
Twitter : https://twitter.com/NationTV22
Tiktok : https://www.tiktok.com/@nationonline?lang=thTH
Instragram:https://www.instagram.com/nationtv22_/
Line : @nationonline

ดีเซล 28 บาทต่อลิตร ขนส่งไปต่อหรือพอแค่นี้ | 25 พ.ย. 64 | FULL | NationTV22

สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย?


การประกันสังคม มาตรา 33 มีหลายคนสงสัยว่า มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงานในกรณีนี้ ประกันสังคม จ่ายยังไง ผู้ประกันตนหลายคน มีข้อสงสัยเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์กรณีต่าง ๆ ที่จะได้รับจากกองทุนประกันสังคมเป็นจำนวนมาก หนึ่งในนั้นคือ ผู้ประกันตนมาตรา 33 คืออะไร?
ผู้ประกันตนมาตรา 33 คือ ลูกจ้างผู้ทำงานให้กับนายจ้างที่อยู่ในสถานประกอบการ หรือพนักงานเอกชนผู้ประกันตนมาตรา 33 จะได้รับความคุ้มครอง 7 กรณี ดังนี้
1. กรณีเจ็บป่วย 1.1. กรณีเจ็บป่วยปกติเมื่อเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิ หรือเครือข่ายของสถานพยาบาลนั้น ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆหากหมดสิทธิได้รับค่าจ้างจากนายจ้างในวันลาป่วยตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานแล้ว จะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 50% ของคึ่าจ้างจริง สูงสุดแต่ไม่เกิน 15,000 บาท ไม่เกิน 90 วันต่อครั้ง และไม่เกิน 180 วันต่อปีเว้นแต่ ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ ไม่เกิน 365 วัน (กรณีป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เมื่อเสียชีวิตจะได้รับค่าทำศพ และเงินสงเคราะห์กรณีตายเช่นเดียวกับกรณีตาย)
1.2. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินถ้าเข้ารับรักษากับสถานพยาบาลที่ไม่ใช่สถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิหรือเครือข่าย จะได้รับค่าบริการทางการแพทย์อย่างไร? กรณีผู้ประกันตนได้สำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน สามารถเบิกคืนจากสำนักงานประกันสังคมในอัตราที่กำหนด ดังนี้ เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ ไม่ว่าจะประสบอันตราหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน ขอรับค่าบริการทางการแพทย์ได้โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง ตามรายละเอียดดังนี้ผู้ป่วยนอก เบิกค่ารักษาพยาบาลได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นผู้ป่วยใน เบิกค่ารักษาพยาบาลได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นภายในระยะเวลาไม่เกิน 72 ชั่วโมงยกเว้น ค่าห้องและค่าอาหารเบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาท เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชน ทั้งประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน สามารถเบิกได้ดังนี้ผู้ป่วยนอก เบิกค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,000 บาท เบิกค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงเกิน 1,000 บาทได้ ถ้ามีการตรวจรักษาตามรายการในประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ดังนี้ การให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือด การฉีดสารต่อต้านพิษจากเชื้อบาดทะยัก การฉีดวัคซีนหรือเซรุ่มป้องกันโรคพิษสุนักบ้า (เฉพาะเข็มแรก) การตรวจอัลตร้าซาวด์กรณีที่มีภาวะฉุกเฉินเฉียบพลันในช่องท้อง การตรวจด้วย CTSCAN หรือ MRI จ่ายตามเงื่อนไขที่กำหนด การขูดมดลูกกรณีตกเลือดหลังคลอด หรือตกเลือดจากการแท้งบุตร ค่าฟื้นคืนชีพ และกรณีที่มีการสังเกตอาการในห้องสังเกตอาการตั้งแต่ 3 ชั่วโมงขึ้นไปผู้ป่วยใน ค่ารักษาพยาบาล กรณีที่ไม่ได้รักษาในห้อง ICU เบิกได้ไม่เกินวันละ 2,000 บาท ค่าห้องและค่าอาหารเบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาท ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่ารักษาพยาบาล กรณีที่รักษาในห้อง ICU เบิกได้ไม่เกินวันละ 4,500 บาท กรณีที่มีความจำเป็นต้องผ่าตัดใหญ่เบิกได้ไม่เกินครั้งละ 8,00016,000 บาท ตามระยะเวลาการผ่าตัด ค่าฟื้นคืนชีพรวมค่ายา และอุปกรณ์เบิกได้ไม่เกิน 4,000 บาท ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ และหรือเอกซเรย์ เบิกได้ไม่เกินรายละ 1,000 บาท กรณีมีความจำเป็นต้องตรวจวินิจฉัยพิเศษ ได้แก่ การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง, การตรวจคลื่นสมอง และการตรวจอัลตร้าซาวด์ตามประกาศ การสวนเส้นเลือดหัวใจและเอกซเรย์, การส่องกล้อง, การตรวจด้วยการฉีดสี, การตรวจด้วย CTSCAN หรือ MRI ตามประกาศ

1.3. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต กรณีผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต สามารถเข้ารับบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลเอกชนที่ใกล้เคียงได้ทุกแห่ง โดยไม่ต้องสำรองค่าใช้จ่าย สำนักงานประกันสังคมจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการรักษาผู้ประกันตนจนพ้นภาวะวิกฤตให้แก่สถานพยาบาลที่รักษาภายในระยะเวลา 72 ชั่วโมง โดยนับรวมวันหยุดราชการ และกรณีที่ผู้ประกันตนได้รับบริการทางการแพทย์จนพ้นภาวะวิกฤตแล้ว จะส่งตัวไปเข้ารับการรักษาต่อ ณ สถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิ ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์การบำบัดโรคกรณีสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะบางส่วนได้ตามความจำเป็นตามหลักเกณฑ์ และอัตราที่ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฯ กำหนด

 1.4. กรณีทันตกรรม จะได้รับสิทธิอะไรบ้าง?กรณีถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และผ่าตัดฟันคุด ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็นในอัตราไม่เกิน 900 บาทต่อปี ในกรณีที่ผู้ประกันตนเข้ารับบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลที่ทำความตกลงกับสำนักงานให้ผู้ประกันตนจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ให้กับสถานพยาบาล เฉพาะส่วนเกินจากสิทธิที่ได้รับกรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน ได้รับค่าบริการทางการแพทย์ และค่าฟันเทียมเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นในอัตราไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ใส่ฟันเทียม ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้1) 15 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 1,300 บาท2) มากกว่า 5 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 1,500 บาทกรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปาก ได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ใส่ฟันเทียม ตามหลักเกณฑ์ดังนี้1) ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนหรือล่าง เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 2,400 บาท2) ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนหรือล่าง เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท2. กรณีคลอดบุตรได้สิทธิได้รับค่าคลอดบุตรโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง ดังนี้

อ่านต่อในคอมเม้นท์นะครับ

มาตรา33ประกันสังคม ประกันสังคมมาตรา33 สิทธิประโยชน์ประกันสังคม

สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *