Home » ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับผู้จัดการมรดก หน้าที่ของผู้จัดการมรดก | หน้าที่ ของ ผู้จัดการ มรดก

ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับผู้จัดการมรดก หน้าที่ของผู้จัดการมรดก | หน้าที่ ของ ผู้จัดการ มรดก

ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับผู้จัดการมรดก หน้าที่ของผู้จัดการมรดก


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับผู้จัดการมรดก หน้าที่ของผู้จัดการมรดก

ข้อถือสิทธิ
ข้อมูลความรู้กฎหมายในคลิปวีดีโอรวมตลอดถึงคำถาม – คำตอบ ที่เกี่ยวเนื่องกับปัญหาข้อกฎหมายในช่องอำนาจตามกฎหมาย ทางยูทูป (YouTube) จัดทำขึ้นเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจทางด้านกฎหมายแก่ผู้เข้าชมเท่านั้น ไม่สามารถนำไปใช้อ้างอิงหรือใช้แทนการวินิจฉัยในการดำเนินคดีของทนายความแก่ลูกความเฉพาะรายได้ เนื่องจากการวินิจฉัยปัญหาของลูกความแต่ละรายมีรายละเอียดข้อมูลที่แตกต่างกัน หากมีการนำข้อมูลของทางช่องอำนาจตามกฎหมายไปใช้โดยไม่ได้ปรึกษาผู้ประกอบวิชาชีพด้านกฎหมาย ทางช่องอำนาจตามกฎหมายจะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น

ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับผู้จัดการมรดก หน้าที่ของผู้จัดการมรดก

กรอบเวลาปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการมรดก


กรอบเวลาปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการมรดก

กรอบเวลาปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการมรดก

ผู้จัดการมรดก มีหน้าที่อะไร | กฎหมายที่ควรรู้ | ทนายดาวพระเสาร์


หน้าที่ของผู้จัดการมรดก
มาตรา 1716 หน้าที่ผู้จัดการมรดกที่ศาลตั้ง ให้เริ่มนับแต่วันที่ได้ฟังหรือถือว่าได้ฟังคำสั่งศาลแล้ว
มาตรา 1719 ผู้จัดการมรดกมีสิทธิและหน้าที่ที่จะทำการอันจำเป็น เพื่อให้การเป็นไปตามคำสั่งแจ้งชัดหรือโดยปริยายแห่งพินัยกรรม และเพื่อจัดการมรดกโดยทั่วไปหรือเพื่อแบ่งปันทรัพย์มรดก
มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
ต้องจัดการมรดกด้วยตนเอง
มาตรา 1723 ผู้จัดการมรดกต้องจัดการโดยตนเอง เว้นแต่จะทำการโดยตัวแทนได้ตามอำนาจที่ให้ไว้ชัดแจ้งหรือโดยปริยายในพินัยกรรม หรือโดยคำสั่งศาล หรือในพฤติการณ์เพื่อประโยชน์แก่กองมรดก
สืบหาผู้มีส่วนได้เสียโดยสมควร
มาตรา 1725 ผู้จัดการมรดกต้องสืบหาโดยสมควรซึ่งตัวผู้มีส่วนได้เสียและแจ้งไปให้ทราบถึงข้อกำหนดพินัยกรรมที่เกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสียนั้นภายในเวลาอันสมควร
จัดทำบัญชีทรัพย์มรดก
มาตรา 1728 ผู้จัดการมรดกต้องลงมือจัดทำบัญชีทรัพย์มรดกภายในสิบห้าวัน
(1) นับแต่เจ้ามรดกตาย ถ้าในขณะนั้นผู้จัดการมรดกได้รู้ถึงการตั้งแต่งตามพินัยกรรมที่มอบหมายไว้แก่ตน หรือ
(2) นับแต่วันที่เริ่มหน้าที่ผู้จัดการมรดกตามมาตรา 1716 ในกรณีที่ศาลตั้งเป็นผู้จัดการมรดก หรือ
(3) นับแต่วันที่ผู้จัดการมรดกรับเป็นผู้จัดการมรดกในกรณีอื่น
ต้องจัดการทำรายงานแสดงบัญชีการจัดการ และ แบ่งปันมรดกแก่ทายาททั้งหมด ให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ปี
มาตรา 1732 ผู้จัดการมรดกต้องจัดการตามหน้าที่และทำรายงานแสดงบัญชีการจัดการและแบ่งปันมรดกให้เสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ระบุไว้ในมาตรา 1728 เว้นแต่ผู้ทำพินัยกรรม ทายาทโดยจำนวนข้างมาก หรือศาลจะได้กำหนดเวลาให้ไว้เป็นอย่างอื่น

หากคลิปนี้ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะคะ
Page Facebook : ModernLaw
หรือคลิกที่ลิงค์ : https://www.facebook.com/modernlawth

ผู้จัดการมรดก มีหน้าที่อะไร | กฎหมายที่ควรรู้ | ทนายดาวพระเสาร์

หน้าที่ของผู้จัดการมรดก


หน้าที่ของผู้จัดการมรดก

EP27 ผู้จัดการมรดกคือ อะไร มีหน้าที่อะไรบ้าง l ปรึกษาฟรี ทนายปวีณ


ผู้จัดการมรดกคือ อะไร มีหน้าที่อะไรบ้าง ทนายปวีณ
กฎหมายง่ายๆกับทนายปวีณ
ให้คำปรึกษาฟรี สงสัยตรงไหนเรื่องอะไรคอมเม้นไว้เลยครับ
Facebook : ทนายปวีณ คลิ๊กเลย https://bit.ly/2QFlaDH

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 1629 ทายาทโดยธรรมมีหกลำดับเท่านั้น และภายใต้บังคับแห่งมาตรา 1630 วรรค 2 แต่ละลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลังดังต่อไปนี้ คือ
(1) ผู้สืบสันดาน
(2) บิดามารดา
(3) พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
(4) พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
(5) ปู่ ย่า ตา ยาย
(6) ลุง ป้า น้า อา
คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้นก็เป็นทายาทโดยธรรม ภายใต้บังคับของบทบัญญัติพิเศษแห่งมาตรา 1635

EP27 ผู้จัดการมรดกคือ อะไร มีหน้าที่อะไรบ้าง l ปรึกษาฟรี ทนายปวีณ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *