Home » การเตรียมไฟล์ Excel import ขึ้นระบบสำนักงานประกันสังคมนายจ้างสมทบนายจ้าง 4% ผู้ประกันตน 1% | ราย ระ เอียด ประกัน สังคม

การเตรียมไฟล์ Excel import ขึ้นระบบสำนักงานประกันสังคมนายจ้างสมทบนายจ้าง 4% ผู้ประกันตน 1% | ราย ระ เอียด ประกัน สังคม

การเตรียมไฟล์ Excel import ขึ้นระบบสำนักงานประกันสังคมนายจ้างสมทบนายจ้าง 4% ผู้ประกันตน 1%


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ค่าจ้างงวดเดือนมีนาคม พฤษาคม 2563 นายจ้างสามารถนำส่งเงินสมทบอัตราเงินสมทบนายจ้าง 4% อัตราเงินสมทบผู้ประกันตน 1%
ตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน 2563 เป็นต้นไป
ที่ https://www.sso.go.th/eservices/esv/index.jsp
โหลดคู่มือการส่งข้อมูล
https://drive.google.com/uc?export=download\u0026id=1Nvsx3hGhC2bYjbEqyWUXZC92XezVh8UU
การเตรียมไฟล์ Excel import ขึ้นระบบสำนักงานประกันสังคมนายจ้างสมทบนายจ้าง 4% ผู้ประกันตน 1%
โหลดได้ที่ :https://drive.google.com/file/d/1PP7qV3Al6LGGOO3cs8AmRDXr35WXim/view?usp=sharing
และ https://drive.google.com/file/d/1b61NFCb0KcULwCBeNUqMKtM4Nun8llT/view?usp=sharing
ขอบคุณข้อมูลจาก
สำนักงานประกันสังคม
ติดตามหรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
Facebook :https://www.facebook.com/PayrollOS
Blockdit :https://www.blockdit.com/payrollos
IG :https://www.instagram.com/payrollos
Youtube :https://www.youtube.com/channel/UClIk…
LineID :PayrollOS
Email :[email protected]
| รับฟังย้อนหลัง |

Payroll มีความสำคัญกับองค์กรอย่างไร EP1
https://youtu.be/YpNA5Eqn4Qo
องค์ประกอบของ “การจัดทำบัญชีเงินเดือน” EP2
https://youtu.be/jWwZ2UbCBmQ
กำหนดรอบการคำนวณเงินเดือน ค่าแรง ค่าตอบแทนอื่น ๆ อย่างไรดี?จึงจะเหมาะสมกับองค์กร EP3
https://youtu.be/Rxoy1vXWbbA
ทำงานล่วงเวลา ต้องได้กี่เท่าของค่าแรง? \”โอทีไม่ใช่โอฟรี\” [ฉบับนายจ้าง vs ลูกจ้าง]https://youtu.be/bfqSX3Vc3n8
คอนเซ็ป วิธีการคิด และคำนวณค่าล่วงเวลาของพนักงาน
https://youtu.be/DTtptMVgwmk
วิธีการหาอัตราเงินสมทบประกันสังคม นายจ้าง 4% ลูกจ้าง 1% (Coronavirus Disease 2019 [COVID19])
https://youtu.be/hdjwBWayCCw
การทำบัญชีเงินเดือน Payroll Covid_19 การเงินและบัญชี
กฏหมายแรงงาน ภาษีส่วนบุคคล
ภาษีอัตราก้าวหน้า คำนวณโอที คำนวณOT
ค่าล่วงเวลา ลดหย่อน HR ฝ่ายบุคคล คำนวณค่าแรง
ภาษีเงินได้ ภงด1 ภงด1ก สปส1_10 กท20ก ภงด3 ภงด53
กรมแรงงาน ประกันสังคม สรรพากร กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ProvidentFund นโยบาย Policy ข้อมูลพนักงานงาน Employee ข้อมูลการทำงาน
TimeAttendance รายงานบัญชีเงินเดือน payrollReport ตรวจสอบ Audit
Socialsecurity RevenueDepartment ธนาคาร Bank DBD DepartmentofBusinessDeverlopment เงินสมทบ4%_1% ผู้ประกันตนมาตรา33 ขึ้นทะเบียนประกันสังคม
ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด เลขนิติบุคคล13หลัก ลูกจ้างผู้ประกันตน

การเตรียมไฟล์ Excel import ขึ้นระบบสำนักงานประกันสังคมนายจ้างสมทบนายจ้าง 4% ผู้ประกันตน 1%

เปรียบเทียบกรณีเจ็บป่วยประกันสังคม 3 มาตรา


ผู้ประกันตนแต่ละประเภทมีสถานะที่ต่างกัน และการจ่ายเงินสมทบที่ต่างกัน
จึงทำให้การได้รับสิทธิประโยชน์อาจมีความแตกต่าง หรือบางกรณีก็อาจจะเหมือนกันภายใต้หลักการเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุข
============
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี

เปรียบเทียบกรณีเจ็บป่วยประกันสังคม 3 มาตรา

ประกันสังคมมาตรา 40 คุ้มครองอะไรบ้าง? เสียสิทธิบัตรทองจริงไหม?


ประกันสังคมมาตรา 40 คุ้มครองอะไรบ้าง? เสียสิทธิบัตรทองจริงไหม?
ประกันสังคมมาตรา40เยียวยาโควิด
AnewsTime คุยข่าวชาวบ้าน คนละครึ่งเฟส3 ยิ่งใช้ยิ่งได้ แอปเป๋าตัง G_wallet เยียวยารอบใหม่ ทิศทางเยียวยาโควิดรอบใหม่ กำหนดวันโอนเงินผู้พิการเข้าบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ บัตรคนจน บัตรสวัสดิการแห่งรัฐโฉมใหม่ เป๋าตังสำคัญยังไงทำไมต้องมี วิธีเช็คยอดเงินในเป๋าตัง คนละครึ่งเฟส2มีแน่ เราไม่ทิ้งกัน เงินเยียวยาโควิด ข่าวร้ายกลุ่มร้องทุกข์เราไม่ทิ้งกันจ่อโดนเท ข่าวรัฐแจกเงิน เงินเยียวยาเกษตรกร เงินช่วยเหลือชาวนา ข่าวสังคม ข่าวต่างประเทศ พยากรณ์อากาศ มติคณะรัฐมนตรีล่าสุด มติครมล่าสุด มติครมวันนี้ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐล่าสุด บัตรคนจนล่าสุด ร้านธงฟ้าประชารัฐ คนละครึ่งล่าสุด ข่าวแจกเงินล่าสุด กระทรวงการคลัง กรมบัญชีกลาง ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวการเมือง ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา FootballLifeTH เบี้ยยังชีพคนแก่ เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ เบี้ยยังชีพคนพิการ เบี้ยยังชีพผู้พิการ เงินค่าเลี้ยงดูบุตร กลุ่มเปราะบาง ผู้ประกันตนมาตรา33 ผู้ประกันตนมาตรา39 ผู้ประกันตนมาตรา40 เงินช่วยเหลือชาวนา เงินประกันรายได้เกษตรกร สลากกินแบ่งรัฐบาล สินเชื่อ สินเชื่อธนาคารออมสิน สินเชื่อธกส สินเชื่อธอส สินเชื่อธนาคารกรุงไทย วิธีโหลดเป๋าตัง วิธีโหลดถุงเงิน วิธีเติมเงินเป๋าตัง คดีน้องชมพู ข่าวการท่องเที่ยว ราชกิจจานุเบกษา ข่าวลุงพลป้าแต๋น ข่าวลุงพล แถลงข่าวคดีน้องชมพู หรือนี่เป็นสัญญานปิดคดีน้องชมพู่

สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อเข้าถึงสิทธิพิเศษต่างๆ
https://www.youtube.com/channel/UCp6BFzjCoeXO_9lFB_S8IHg/join

พบกับการรายงานข่าวสาร ทุกแวดวงสังคม ทั้งในและต่างประเทศ
👉ติดตามข่าวด่วน ข่าวเด่น ข่าวดัง คลิปสั้นได้ที่ TikTok https://vt.tiktok.com/ZSJeSgvPT/
👉ติดตามข่าวได้อีกช่องทางที่แฟนเพจเฟซบุ๊ก เอนิวส์ไทม์ https://www.facebook.com/103454604757754/posts/124098052693409/

🌹ติดต่อแนะนำการเสนอข่าว ได้ที่
Tel. 0892458533
LINE ID : a.cph979
Email : [email protected]

ประกันสังคมมาตรา 40 คุ้มครองอะไรบ้าง? เสียสิทธิบัตรทองจริงไหม?

สมัครเข้าดูข้อมูลประกันสังคมของตัวเอง


ขอขอบคุณข้อมูลจาก www.sso.go.th

สมัครเข้าดูข้อมูลประกันสังคมของตัวเอง

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel


ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 กรณีเจ็บป่วย จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ เมื่อจ่ายเงินสมทบมาแล้ว 3 เดือน ใน 4 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ส่วนจำนวนเงินชดเชยการขาดรายได้นั้น ประกันสังคมได้กำหนดไว้ ดังนี้
_เมื่อผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หลังจากได้รับการตรวจรักษา ข้อที่ (1) แพทย์พิจารณาให้
นอนโรงพยาบาลตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป ท่านก็จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ วันละ 300 บาท
ข้อที่ (2) ไม่ได้นอนโรงพยาบาล แต่แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัว ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป จะได้รับเงิน
ชดเชยการขาดรายได้ วันละ 200 บาท และข้อที่ (3) ไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอก และ
แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัวไม่เกิน 2 วัน จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ ครั้งละ 50 บาท
3. การรับสิทธิประโยชน์นั้นนะคะ ผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 1 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 70 บาทต่อเดือน และทาง
เลือกที่ 2 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 100 บาทต่อเดือน มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับ
รวมกันแล้ว ไม่เกิน 30 วันต่อปี ส่วนข้อ (3) มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ ไม่เกิน 3 ครั้งต่อปีนะคะ
_ สำหรับผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 3 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 300 บาทต่อเดือน ก็มีสิทธิที่จะได้รับเฉพาะสิทธิ
ประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับรวมกันแล้ว ไม่เกิน 90 วันต่อปี ส่วนสิทธิประโยชน์ตามข้อ (3) ทาง
เลือกนี้จะไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้
4. ค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้น จะทำอย่างไร ใครเป็นคนจ่าย
เนื่องจากค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ สำนักงานประกันสังคมไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้ ดังนั้นผู้ประกันตนใน
มาตรา 40 จึงสามารถใช้สิทธิในเรื่องค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิที่ตนเองมีได้ ตัวอย่าง เช่น
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิบัตรทองก็ใช้สิทธิบัตรทองในส่วนของค่ารักษาพยาบาล หรือ
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางก็ใช้สิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางได้
ประกันสังคมมาตรา40เงินชดเชยการขาดรายได้กรณีเจ็บป่วย

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *