Home » การจดทะเบียนสมรสใช้อะไรบ้าง (คนโสด) | จดทะเบียนสมรสที่ไหน

การจดทะเบียนสมรสใช้อะไรบ้าง (คนโสด) | จดทะเบียนสมรสที่ไหน

การจดทะเบียนสมรสใช้อะไรบ้าง (คนโสด)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

จดทะเบียนสมรสครั้งแรก ต้องเตรียมอะไรบ้าง
เอกสารประกอบจดทะเบียนสมรส สำหรับกรณีผู้ที่ไม่เคยจดทะเบียนสมรสมาก่อน
การจดทะเบียนสมรสใช้อะไรบ้าง,
การจดทะเบียนสมรส ต้องใช้อะไรบ้าง,
การจดทะเบียนสมรส อายุเท่าไร,
การจดทะเบียนสมรส หลักฐานที่ต้องใช้,
การจดทะเบียนสมรส ต้องมีพยานไหม,
การจดทะเบียนสมรส เปลี่ยนนามสกุล,
การจดทะเบียนสมรส พยาน,
การจดทะเบียนสมรส 2564

การจดทะเบียนสมรสใช้อะไรบ้าง (คนโสด)

#อย่าหาว่าน้าสอน “ทะเบียนสมรส” จด~หรือไม่จดดี?!?!


การจดทะเบียนสมรสเนี่ยเขาทำกันไปทำไม ??
มีผลอะไรกับชีวิตบ้าง คิดดีๆนะน้อง
ไม่ใช่แค่ว่ากูชอบคนนี้มากกูจะจดกับคนนี้เดี๋ยวนี้ !!!!

#อย่าหาว่าน้าสอน “ทะเบียนสมรส” จด~หรือไม่จดดี?!?!

จดทะเบียนสมรสแล้ว คนลาวจะเปลี่ยนมาใช้นามสกุลคู่สมรสไทยได้ไม๊?


สำหรับน้องๆ คนลาวที่จะจดทะเบียนสมรสกับคนไทย คงมีคำถามว่าถ้าจะใช้นามสกุลของคู่สมรสไทยจะได้ไม๊ แล้วจะต้องทำยังไง เปลี่ยนนามสกุลแล้วต้องไปแจ้งที่ไหนบ้าง คลิปนี้พี่มาให้ความกระจ่างกันเลยค่ะ หากคลิปนี้เป็นประโยชน์กดแชร์เก็บไว้ได้เลยนะคะ ช่วยน้องๆ คนลาวคลายข้อสงสัยได้แน่นอนค่ะ
สอบถามและติดตามพี่จิ๊บได้ทาง เฟสบุ๊คเพจ จดทะเบียนสมรสไทยลาว แปลภาษา รับรองนิติกรณ์ Legal Service หรือโทร. 0925928799, 0812609286 ค่ะ

จดทะเบียนสมรสแล้ว คนลาวจะเปลี่ยนมาใช้นามสกุลคู่สมรสไทยได้ไม๊?

จดทะเบียนสมรส คุณสมบัติของผู้ที่สามารถจดทะเบียนสมรสได้ เอกสารที่ต้องเตรียม และค่าธรรมเนียม


คุณสมบัติของผู้ที่จะจดทะเบียนสมรส
ชายหรือหญิงจะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 17 ปีบริบูรณ์ และต้องนำบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมาให้ความยินยอมด้วย กรณีที่มีอายุต่ำกว่า 17 ปี จะต้องได้รับอนุญาตจากศาลให้ทำการสมรสได้ ส่วนผู้ที่มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ ขึ้นไปสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือไร้ความสามารถ ไม่เป็นพี่น้องร่วมบิดามารดา หรือร่วมแต่บิดามารดา
ไม่เป็นคู่สมรสของบุคคลอื่น ผู้รับบุตรบุญธรรมจะสมรสกับบุตรบุญธรรมไม่ได้
หญิงหม้ายจะสมรสใหม่ เมื่อการสมรสครั้งก่อนได้สิ้นสุดไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน เว้นแต่
คลอดบุตรแล้วในระหว่างนั้น สมรสกับคู่สมรสเดิม มีใบรับรองแพทย์ว่าไม่ได้ตั้งครรภ์
ศาลมีคำสั่งให้สมรสได้ ชายหญิง ที่มีอายุไม่ครบ 17 ปีบริบูรณ์ ศาลอาจอนุญาตให้สมรสได้
เอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียนสมรส
1. สำหรับบุคคลสัญชาติไทย ใช้บัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (เล่มสีน้ำเงิน)
2. สำหรับชาวต่างชาติใช้สำเนาหนังสือเดินทาง และหนังสือรับรองสถานภาพบุคคลจากสถานทูตหรือสถานกงสุลหรือองค์การของรัฐบาลประเทศนั้น พร้อมคำแปลภาษาไทยที่กระทรวงต่างประเทศไทยได้ตรวจสอบแล้ว
3. หนังสือให้ความยินยอม (กรณีผู้ร้องขอยังไม่บรรลุนิติภาวะและผู้มีอำนาจให้ความยินยอมไม่ได้มาด้วย)
4. หากหย่าแล้วต้องมีหลักฐานการหย่า หรือคู่สมรสตาย ต้องมีหลักฐานการตาย
5. พยาน 2 คน พร้อมบัตรประจำตัวประชาชน
ขั้นตอนในการขอจดทะเบียนสมรส
การจดทะเบียนสมรส สามารถยื่นคำร้องขอจดทะเบียนได้ทุกแห่ง โดยไม่ต้องคำนึงถึงภูมิลำเนาของ คู่สมรส
คู่สมรสยื่นคำร้องขอจดทะเบียนสมรสต่อเจ้าหน้าที่หรือนายทะเบียน ณ ที่ว่าการอำเภอ กิ่งอำเภอ หรือสำนัก ทะเบียนเขตใดก็ได้ โดยไม่คำนึงถึงภูมิลำเนาของคู่สมรส
คู่สมรสที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องนำบิดาและมารดาหรือผู้ปกครองโดยชอบธรรมมาให้ความยินยอม
คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือทั้งสองฝ่าย เป็นคนต่างด้าว ต้องขอหนังสือรับรองสถานภาพบุคคล
จากสถานทูตหรือกงสุลสัญชาติที่ตนสังกัด หนังสือรับรองนั้น พร้อมคำแปลภาษาไทยที่กระทรวงต่างประเทศไทยได้ตรวจสอบแล้วและรับรองแล้ว
ค่าธรรมเนียม
การจดทะเบียนสมรส ณ สำนักทะเบียนที่จด ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม การจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียน ต้องเสียค่าธรรมเนียน 200 บาท พร้อมจัดยานพาหนะ รับ ส่ง นายทะเบียน
การใช้นามสกุลของคู่สมรส ให้เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างคู่สมรส
ที่มา : https://stat.bora.dopa.go.th/callcenter1548/A211_voice.htm

จดทะเบียนสมรส คุณสมบัติของผู้ที่สามารถจดทะเบียนสมรสได้ เอกสารที่ต้องเตรียม และค่าธรรมเนียม

Wedding Talk ep.22 การจดทะเบียนสมรสกับคนต่างชาติ


การจดทะเบียนสมรสในไทย ไม่ใช่เรื่องยาก
(หากเป็นคนสัญชาติไทยเช่นกัน)
แต่หากเป็นการจดสมรสกับคนต่างสัญชาติ
ความซับซ้อน เวลา ค่าใช้จ่าย นั้นต่างกันคนละเรื่อง
ep.นี้ เราจะพาไปพูดคุยว่า
การจดทะเบียนสมรสกับคนต่างชาติ
ต้องเผชิญกับอะไรบ้าง
และ มีข้อควรระวังอะไรบ้าง
WeddingTalk WeddingLesson

Wedding Talk ep.22 การจดทะเบียนสมรสกับคนต่างชาติ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *