Home » สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตนมาตรา 40 | ประกันสังคม มาตรา 33 คุ้มครองอะไรบ้าง

สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตนมาตรา 40 | ประกันสังคม มาตรา 33 คุ้มครองอะไรบ้าง

สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตนมาตรา 40


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สิทธิประโยชน์ผู้ประกันตนมาตรา 40

ประกันสังคมมาตรา33 คืออะไร สิทธิ์ประโยชน์อะไรบ้าง


ประกันสังคม มาตรา33

ประกันสังคมมาตรา33 คืออะไร สิทธิ์ประโยชน์อะไรบ้าง

สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย?


การประกันสังคม มาตรา 33 มีหลายคนสงสัยว่า มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงานในกรณีนี้ ประกันสังคม จ่ายยังไง ผู้ประกันตนหลายคน มีข้อสงสัยเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์กรณีต่าง ๆ ที่จะได้รับจากกองทุนประกันสังคมเป็นจำนวนมาก หนึ่งในนั้นคือ ผู้ประกันตนมาตรา 33 คืออะไร?
ผู้ประกันตนมาตรา 33 คือ ลูกจ้างผู้ทำงานให้กับนายจ้างที่อยู่ในสถานประกอบการ หรือพนักงานเอกชนผู้ประกันตนมาตรา 33 จะได้รับความคุ้มครอง 7 กรณี ดังนี้
1. กรณีเจ็บป่วย 1.1. กรณีเจ็บป่วยปกติเมื่อเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิ หรือเครือข่ายของสถานพยาบาลนั้น ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆหากหมดสิทธิได้รับค่าจ้างจากนายจ้างในวันลาป่วยตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานแล้ว จะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 50% ของคึ่าจ้างจริง สูงสุดแต่ไม่เกิน 15,000 บาท ไม่เกิน 90 วันต่อครั้ง และไม่เกิน 180 วันต่อปีเว้นแต่ ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ ไม่เกิน 365 วัน (กรณีป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เมื่อเสียชีวิตจะได้รับค่าทำศพ และเงินสงเคราะห์กรณีตายเช่นเดียวกับกรณีตาย)
1.2. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินถ้าเข้ารับรักษากับสถานพยาบาลที่ไม่ใช่สถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิหรือเครือข่าย จะได้รับค่าบริการทางการแพทย์อย่างไร? กรณีผู้ประกันตนได้สำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน สามารถเบิกคืนจากสำนักงานประกันสังคมในอัตราที่กำหนด ดังนี้ เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ ไม่ว่าจะประสบอันตราหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน ขอรับค่าบริการทางการแพทย์ได้โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง ตามรายละเอียดดังนี้ผู้ป่วยนอก เบิกค่ารักษาพยาบาลได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นผู้ป่วยใน เบิกค่ารักษาพยาบาลได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นภายในระยะเวลาไม่เกิน 72 ชั่วโมงยกเว้น ค่าห้องและค่าอาหารเบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาท เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชน ทั้งประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน สามารถเบิกได้ดังนี้ผู้ป่วยนอก เบิกค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,000 บาท เบิกค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงเกิน 1,000 บาทได้ ถ้ามีการตรวจรักษาตามรายการในประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ดังนี้ การให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือด การฉีดสารต่อต้านพิษจากเชื้อบาดทะยัก การฉีดวัคซีนหรือเซรุ่มป้องกันโรคพิษสุนักบ้า (เฉพาะเข็มแรก) การตรวจอัลตร้าซาวด์กรณีที่มีภาวะฉุกเฉินเฉียบพลันในช่องท้อง การตรวจด้วย CTSCAN หรือ MRI จ่ายตามเงื่อนไขที่กำหนด การขูดมดลูกกรณีตกเลือดหลังคลอด หรือตกเลือดจากการแท้งบุตร ค่าฟื้นคืนชีพ และกรณีที่มีการสังเกตอาการในห้องสังเกตอาการตั้งแต่ 3 ชั่วโมงขึ้นไปผู้ป่วยใน ค่ารักษาพยาบาล กรณีที่ไม่ได้รักษาในห้อง ICU เบิกได้ไม่เกินวันละ 2,000 บาท ค่าห้องและค่าอาหารเบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาท ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่ารักษาพยาบาล กรณีที่รักษาในห้อง ICU เบิกได้ไม่เกินวันละ 4,500 บาท กรณีที่มีความจำเป็นต้องผ่าตัดใหญ่เบิกได้ไม่เกินครั้งละ 8,00016,000 บาท ตามระยะเวลาการผ่าตัด ค่าฟื้นคืนชีพรวมค่ายา และอุปกรณ์เบิกได้ไม่เกิน 4,000 บาท ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ และหรือเอกซเรย์ เบิกได้ไม่เกินรายละ 1,000 บาท กรณีมีความจำเป็นต้องตรวจวินิจฉัยพิเศษ ได้แก่ การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง, การตรวจคลื่นสมอง และการตรวจอัลตร้าซาวด์ตามประกาศ การสวนเส้นเลือดหัวใจและเอกซเรย์, การส่องกล้อง, การตรวจด้วยการฉีดสี, การตรวจด้วย CTSCAN หรือ MRI ตามประกาศ

1.3. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต กรณีผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต สามารถเข้ารับบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลเอกชนที่ใกล้เคียงได้ทุกแห่ง โดยไม่ต้องสำรองค่าใช้จ่าย สำนักงานประกันสังคมจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการรักษาผู้ประกันตนจนพ้นภาวะวิกฤตให้แก่สถานพยาบาลที่รักษาภายในระยะเวลา 72 ชั่วโมง โดยนับรวมวันหยุดราชการ และกรณีที่ผู้ประกันตนได้รับบริการทางการแพทย์จนพ้นภาวะวิกฤตแล้ว จะส่งตัวไปเข้ารับการรักษาต่อ ณ สถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิ ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์การบำบัดโรคกรณีสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะบางส่วนได้ตามความจำเป็นตามหลักเกณฑ์ และอัตราที่ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฯ กำหนด

 1.4. กรณีทันตกรรม จะได้รับสิทธิอะไรบ้าง?กรณีถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และผ่าตัดฟันคุด ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็นในอัตราไม่เกิน 900 บาทต่อปี ในกรณีที่ผู้ประกันตนเข้ารับบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลที่ทำความตกลงกับสำนักงานให้ผู้ประกันตนจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ให้กับสถานพยาบาล เฉพาะส่วนเกินจากสิทธิที่ได้รับกรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน ได้รับค่าบริการทางการแพทย์ และค่าฟันเทียมเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นในอัตราไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ใส่ฟันเทียม ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้1) 15 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 1,300 บาท2) มากกว่า 5 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 1,500 บาทกรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปาก ได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ใส่ฟันเทียม ตามหลักเกณฑ์ดังนี้1) ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนหรือล่าง เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 2,400 บาท2) ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนหรือล่าง เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท2. กรณีคลอดบุตรได้สิทธิได้รับค่าคลอดบุตรโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง ดังนี้

อ่านต่อในคอมเม้นท์นะครับ

มาตรา33ประกันสังคม ประกันสังคมมาตรา33 สิทธิประโยชน์ประกันสังคม

สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย?

EP. 127 การขอคืนเงินประกันสังคม มาตรา.33 กรณีเสียชีวิต ขั้นตอนและการแก้ไขป้องกัน


ประกันสังคม มาตรา33 มาตรา39 มาตรา40 ตาทอมยายมา ผู้ประกันตนตามมาตรา
ฝากกดติดตามช่องตาทอมยายมานำแนเด้อ หรือเข้ามาพูดคุยแสดงความคิดเห็นนำกันได้จ้า

EP. 127 การขอคืนเงินประกันสังคม มาตรา.33 กรณีเสียชีวิต ขั้นตอนและการแก้ไขป้องกัน

ประกันสังคม เป็นพนักงานใหม่มีประกันสังคมตาม มาตรา33 ครั้งแรก ใช้สิทธิอะไรได้บ้าง? SSO connect


ประกันสังคมมาตรา33ประกันสังคมมาตร39ประกันสังคมมาตรา40เราไม่ทิ้งกัน
คลิปนี้ผมจะมาแนะนำวิธีปฎิบัติตนสำหรับคนที่เพิ่งทำงานมีประกันสังคมครั้งแรก
จะต้องทำตัวยังไงในการเข้าถึงสิิทธิ์ประกันสังคม
เพื่อที่จะได้เตรียมตัวอย่างถูกต้องในการใช้สิทธิประกันสังคม
หากท่านใดมีข้อสงสัยสามารถคอมเม้นท์ด้านล่างคลิปได้เลยครับ

ประกันสังคม เป็นพนักงานใหม่มีประกันสังคมตาม มาตรา33 ครั้งแรก ใช้สิทธิอะไรได้บ้าง? SSO connect

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *