Home » 4 ข้อที่ห้ามทำ ถ้าอยากได้ค่าชดเชยเลิกจ้าง | การเลิกจ้างงาน

4 ข้อที่ห้ามทำ ถ้าอยากได้ค่าชดเชยเลิกจ้าง | การเลิกจ้างงาน

4 ข้อที่ห้ามทำ ถ้าอยากได้ค่าชดเชยเลิกจ้าง


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

1.ห้ามลาออกเอง
2.ห้ามหยุดพัฒนาตัวเอง
3.ห้ามผิดวินัยบริษัท
4.ห้ามทำผิดกฎหมาย
==================
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง PURE Studio
https://purestudio.simdif.com/?1593612417489

4 ข้อที่ห้ามทำ ถ้าอยากได้ค่าชดเชยเลิกจ้าง

เกือบพันชีวิตเคว้ง โดนเลิกจ้างรับปีใหม่ คนในแฉบริษัทไม่เจ๊ง แค่ล้างไพ่เปลี่ยนชื่อ-รับพนง.ใหม่


สมุทรสาครจากกรณีบริษัทพงศ์พาราโคดันรับเบอร์ จำกัด ปิดประกาศหยุดกิจการกระทันหัน ในเช้าวันที่ 23 ธันวาคม โดยไม่มีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ซึ่งทำให้พนักงานเกือบพันคนต้องกลายเป็นผู้ถูกเลิกจ้างทันทีทำให้รู้สึกถึงความไม่เป็นธรรม

ซึ่งทางบริษัทได้แจ้งว่าจะมีการชดเชยให้กับพนักงานตามที่กฎหมายระบุ เป็นเงินราว 114 ล้านบาท ซึ่งเป็นค่าการไม่บอกกล่าวงล่วงหน้ากับเงินชดเชย ซึ่งจะให้พนักงานมารับได้ในวันที่ 23, 24,25 และหลังจากนั้นจะโอนเข้าบัญชี ส่วนพนักงานท่านใดที่รู้สึกว่าไม่เป็นธรรมสามารถเข้าร้องเรียนไดที่สำนักงานจัดหางานจังหวัดสมุทรสาครหรือศาลแรงงาน

ซึ่งตอนนี้มีพนักงานส่วนหนึ่งที่ยอมรับการเลิกจ้างครั้งนี้ แต่อีกส่วนหนึ่งยังไม่ยอมรับและยังได้ปักหลักชุมนัมกันอยู่ที่สภาพแรงงานผลิตภัณฑ์ยานยนต์ไทย

โดยบริษัทดังกล่าวนี้ เป็นบริษัทผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่เกี่ยวกับยาง และเพิ่งครบรอบ50ปีไปเมื่อปีที่ผ่านมา โดยที่ผ่านมาพนักงานบอกว่าไม่มีสัญญาณของการเลิกจ้าง จ่ายเงินครบทุกงวด แต่มีการตกลงกันไม่ได้หนึ่งเรื่องก็คือ การเรียกร้องเรื่องสวัสดิการ เงินเดือน โอที เพิ่มขึ้น ซึ่งทางตัวแทนพนักงานบอกว่า สาเหตุการเลิกจ้างน่าจะมาจากเรื่องนี้ ไม่น่าจะเป็นเรื่องการขาดสภาพคล่อง

ทั้งนี้มีข้อมูลอีกมุมจากเพจเฟซบุ๊ก Thailand Vision ได้โพสต์ข้อความเกี่ยวกับกรณีดังกล่าวโดยระบุว่า….

เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. จากกรณีบริษัท พงศ์พาราโคดันรับเบอร์ จำกัด (PCR) อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร ซึ่งประกอบกิจการผลิตชิ้นส่วนอะไหล่ประเภทผลิตภัณฑ์ยาง พลาสติก PVC ประกาศเลิกกิจการแบบกะทันหัน โดยปิดประกาศหน้าโรงงานเมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา ขณะที่พนักงานกว่า 1 พันคนที่เดินทางมาทำงานต่างไม่รู้ล่วงหน้ามาก่อน ต้องตกงานกันแบบไม่ทันตั้งตัว ซึ่งต่อมา ทางพนักงานทั้งหมดได้ไปรวมตัวกันที่สำนักงานสหภาพแรงงานผลิตภัณฑ์ยานยนต์ไทย เพื่อหารือแนวทางการขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม และอยากฟังถึงเหตุผลของการปิดกิจการโรงงานในครั้งนี้

หลังจากข่าวถูกนำเสนอออกไป มีผู้ใช้เฟซบุ๊กท่านหนึ่งซึ่งทำงานอยู่ในบริษัทดังกล่าว ได้นำภาพถ่ายรายละเอียดค่าจ้างของ บริษัท พี อาร์ โปรดักชั่น จำกัด (PRP) ซึ่งเป็นบริษัทใหม่ที่ทางเจ้าของโรงงานได้จดมาแทนบริษัทเดิม โดยระบุว่า สาเหตุของการปิดกิจการ ไม่ได้มาจากพิษเศรษฐกิจ แต่เนื่องจากทางโรงงานต้องการล้างไพ่ เพื่อละลาย สหภาพแรงงานฯ ที่ได้ยื่นข้อเรียกร้องเรื่องสวัสดิการแรงงาน มาตั้งแต่ 25 พ.ย. โดยเจรจากัน 4 ครั้ง แต่ยังไม่สามารถตกลงกันได้ จนกระทั่งทางเจ้าของกิจการตัดสินใจปิดบริษัท โดยไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้า และยอมจ่ายค่าชดเชยแก่คนงานกว่าพันคน เป็นจำนวน 114 ล้านบาท

ซึ่งทางโรงงานยังคงทำงานผลิตชิ้นส่วนอะไหล่ยางตามออเดอร์ปกติ โดยยังมีพนักงานเก่าบางส่วนทำงานอยู่ในโรงงาน เพียงแค่เปลี่ยนชื่อจากบริษัทเดิมมาเป็นบริษัทใหม่ นั่นเอง และยังได้เปิดรับสมัครพนักงานใหม่ ในเรตค่าแรงที่เริ่มต้นใหม่ อีกด้วย

โดย พนักงาน PCR ส่วนหนึ่ง ได้โพสต์เฟซบุ๊ก ระบายและอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นดังนี้

Nakarin Muenthongtawae
ผมอยู่บ.นี้ครับอยากจะบอกว่าไม่ใช่เพราะเจ๊งหรอกครับเขาต้องการจะล้มสหภาพขณะนี้ในโรงงานยังมีการทำงานบางส่วนอยู่ครับเค้าแค่เปลี่ยนชื่อบ.ใหม่จาก pcr เป็น prp

Nong Apple
\” โรงงานเราปิดกิจการ พนักงานเกือบ1000คนต้องตกงานกระทันหัน
เคยเจอแต่โรงงานอื่น มาเจอกับตัวเอง
\”บริษัทได้กำไรดี แต่ปิดกิจการ\”แถมเปลี่ยนชื่อบริษัท
ไม่ได้ปิดเพราะเศรษฐกิจไม่ดีแต่ปิดเพราะต้องการล้มองค์กรสหภาพและล้างระบบล้างพนักงานที่เงินเดือนสูง \”

แครอท หวานเจี๊ยบ
\”เพจข่าวที่แชร์..พิษเศรษฐกิจ..เศรษฐกิจตกต่ำ เค้าก้อแชร์ตามป้ายประกาศที่ติดไว้เค้าไม่ผิด…คนข้างในจะรุ้ดีว่าเค้าทำไมถึงทำได้ขนาดนี้…เราจะสู้ไปด้วยกัน
พี่น้องพงศ์พารา เลิกจ้างปิดกิจการ \”

พี่อู๊ด จันทรรัตน์
แก้ข่าวไม่จ่ายโบนัส ตั้งใจล้มสหภาพแรงงานกำไรเพิ่ม70%

Phitsamai Joapow
เคยเห็นแต่โรงงานคนอื่นพอมาเจอกับโรงงานตัวเองรู้สึกผิดหวังมาก

รายละเอียดเพิ่มเติม https://news.bectero.com/news/162862

เรื่องเล่าเช้านี้ (Morning News)24 ธันวาคม 2562
ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารได้ก่อนใครได้ที่นี่
เรื่องเล่าเช้านี้.com : https://morningnews.bectero.com
facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3
Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3
Official LINE : @ruenglao

เกือบพันชีวิตเคว้ง โดนเลิกจ้างรับปีใหม่ คนในแฉบริษัทไม่เจ๊ง แค่ล้างไพ่เปลี่ยนชื่อ-รับพนง.ใหม่

ค่าชดเชยการเลิกจ้าง ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน 2562 (บรรยายภาษาไทย)


กฎหมายแรงงาน กฎหมายใหม่ กฎหมายล่าสุด เลิกจ้าง

ฟังคลิปนี้เป็นภาษาอิสานได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=FjC1Sgx8c4I\u0026t=50s

เสียงบรรยายโดย : ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง : PURE Studio

https://purestudio.simdif.com/

มาตรา ๑๔ ให้ยกเลิกความใน (๕) ของมาตรา ๑๑๘ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๔๑ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๕) ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบสิบปี แต่ไม่ครบยี่สิบปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
สามร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานสามร้อยวันสุดท้ายสาหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้าง
ตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย”
มาตรา ๑๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๖) ของมาตรา ๑๑๘ แห่งพระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
“(๖) ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบยี่สิบปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
สี่ร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานสี่ร้อยวันสุดท้ายสาหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงาน
โดยคานวณเป็นหน่วย”

ค่าชดเชยการเลิกจ้าง ตาม พ.ร.บ.  คุ้มครองแรงงาน 2562 (บรรยายภาษาไทย)

บริษัทจะเลิกจ้างพนักงานอย่างไร ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย [ EP2 ] โดย อ.ปนิธิ ศิริเขต


จะเลิกจ้างพนักงานอย่างไร ไม่ให้ถูกฟ้อง!!
บางองค์กรอาจเคยประสบปัญหานี้ ที่พนักงานทำผิด บริษัทจึงเลิกจ้าง
แต่พนักงานกลับฟ้องบริษัทว่าถูกเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
มาศึกษากันกับคลิปนี้ EP2 บริษัทจะเลิกจ้างพนักงานอย่างไร ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
โดย อ.ปนิธิ ศิริเขต นักวิชาการอิสระด้านกฎหมายแรงงาน
ว่าจะมีทางออกอย่างไรได้บ้าง ที่บริษัทสามารถเลิกจ้างพนักงานที่ทำผิด โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยใดๆ
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม\r
โทร. 02 349 1788, 083 276 8877, 080 620 8877\r
Email: [email protected]

บริษัทจะเลิกจ้างพนักงานอย่างไร ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย [ EP2 ] โดย อ.ปนิธิ ศิริเขต

กฎหมายแรงงาน เรื่อง การจ้างงาน และการเลิกจ้าง


หลักกฎหมายและหลักคิดเกี่ยวกับการจ้างงาน การทดลองงาน และ การเลิกจ้าง

กฎหมายแรงงาน เรื่อง การจ้างงาน และการเลิกจ้าง

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *