Home » ตรวจสอบโฉนดที่ดิน กับเว็บไซต์กรมที่ดิน ทางออนไลน์ได้ง่ายๆ | ตรวจสอบโฉนดที่ดิน ชื่อเจ้าของ

ตรวจสอบโฉนดที่ดิน กับเว็บไซต์กรมที่ดิน ทางออนไลน์ได้ง่ายๆ | ตรวจสอบโฉนดที่ดิน ชื่อเจ้าของ

ตรวจสอบโฉนดที่ดิน กับเว็บไซต์กรมที่ดิน ทางออนไลน์ได้ง่ายๆ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เราสามารถตรวจสอบที่ดินทางอินเตอร์เน็ต จากสำเนาโฉนดที่ดิน ได้ในเบื้องต้น
แต่ถ้าต้องการความถูกต้องแน่นอน ในกรณีการซื้อที่ดินแนะนำให้นำสำเนาโฉนดที่ดินนั้น ไปเช็คที่ สนง.ที่ดินในอำเภอครับ
ถ้านำไปใช้ในการเขียนแบบ หรือหาตำแหน่งที่ดิน เช็คผ่านเว็บกรมที่ดิน ข้อมูลก็เพียงพอที่จะนำไปใช้ได้ครับ
เยี่ยมชมผลงานได้ที่
http://layerhouse.blogspot.com : website
http://www.facebook.com/layerhouse : facebook fan page

ตรวจสอบโฉนดที่ดิน กับเว็บไซต์กรมที่ดิน ทางออนไลน์ได้ง่ายๆ

ไม่ต้องจ้างคนมาวัด เผยวิธีตรวจเช็คโฉนดที่ดิน ได้ทุกที่ ทุกเวลา 10 นาทีรู้ผล


รายละเอียดวิดีโอนี้เกี่ยวกับ :ไม่ต้องจ้างคนมาวัด เผยวิธีตรวจเช็คโฉนดที่ดิน ได้ทุกที่ ทุกเวลา 10 นาทีรู้ผล

ไม่ต้องจ้างคนมาวัด เผยวิธีตรวจเช็คโฉนดที่ดิน ได้ทุกที่ ทุกเวลา 10 นาทีรู้ผล

เว็บไซต์ค้นหาระวางที่ดิน ตามหาเจ้าของที่ดิน ดูขนาดเนื้อที่ หาราคาประเมิน รังวัดที่ดิน โฉนดที่ดิน


คลิกเข้าเว็บไซต์ http://dolwms.dol.go.th/tvwebp/
วันนี้ผมจะพาไปรู้จัก เว็บไซต์ค้นหาระวางที่ดิน ตามหาเจ้าข้องที่ดิน ดูขนาดเนื้อที่ ข้อมูลที่ดิน หาราคาประเมิน ราคารังวัดที่ดิน โฉนดที่ดิน ฯลฯ
ระบบค้นหารูปแปลงที่ดิน ของกรมที่ดินช่วยให้เราสามารถตรวจสอบ ค้นหาตำแหน่งแปลงที่ดิน ข้อมูลทะเบียนที่ดิน เครื่่องหมายที่ดิน ที่ตั้งสำนักงานที่ดิน ราคาประเมินทุนทรัพย์ รูปร่างแปลงที่ดินและสภาพแวดล้อมโดยรอบของแปลงที่ดิน และเป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจในหลายบริบท ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมากรมที่ดินได้ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาระบบค้นหารูปแปลงที่ดิน รวมทั้งพัฒนาระบบงานต่างๆ ทั้งด้านงานทะเบียนที่ดินและงานรังวัดที่ดินเพื่อยกระดับการให้บริการให้มีมาตรฐานที่ดียิ่งขึ้น เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนทั่วไปที่มาขอรับบริการได้อย่างดีเยี่ยม ขอขอบคุณที่ช่วยทำให้ประชาชนได้รับบริการที่สะดวกรวดเร็ว แม้นั่งอยูุ่ที่บ้านก็สามารถดำเนินการได้ครับ
สามารถเข้าใจงานที่เว็บไซต์ http://dolwms.dol.go.th/tvwebp
Youtube Channel : https://www.youtube.com/user/dogfilm
Facebook : https://www.facebook.com/DogfilmChannel
Website : http://www.dogfilmstudio.com/
ค้นหาที่ดิน ราคาประเมินที่ดิน ค้นหาเจ้าของที่ดิน รังวัดที่ดิน ดูที่ดิน

เว็บไซต์ค้นหาระวางที่ดิน ตามหาเจ้าของที่ดิน ดูขนาดเนื้อที่ หาราคาประเมิน รังวัดที่ดิน โฉนดที่ดิน

3เทคนิคตรวจโฉนดที่ดินง่ายๆ


สวัสดีเพื่อนๆทุกคนนะครับ ผมโจ ช่อง Money idea คลิปนี้นะครับก็จะมาแชร์ 3 เทคนิค ตรวจสอบโฉนดที่ดินง่ายๆถ้าไม่อยากถูกหลอกนะครับ เคยมีคนที่ผมรู้จัก เคยถูกหลอกวางเงินดาวซื้อขาย ที่ดินมาแล้วก็มี ดังนั้นทางที่ดีเราควรตรวจสอบทรัพย์ให้เรียบร้อยเสียก่อน เพื่อนๆ สามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวเองง่ายๆ ผมก็เลยนำเทคนิค ที่ใช้มาตลอดก่อนซื้อที่ดินมาแชร์ กันนะครับ
แชร์ 3 เทคนิค เช็คโฉนดที่ดินง่ายๆ ถ้าไม่อยากถูกหลอก สำหรับมือใหม่
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับโฉนดที่ดินก่อน ต้องดูให้เป็นว่าสำเนาโฉนดที่ดินที่ได้รับจากผู้ขาย ผู้ซื้อต้องทราบอะไรบ้าง เช่น โฉนดที่ดินเป็นแบบใด โฉนดที่ดิน สปก เป็นดที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ นส3 ครุฑเขียว หนังสือคำรับรองจากพนักงานเจ้าหน้าที่ว่า ได้ทำประโยชน์ในที่ดินแล้วไม่มีรูปถ่ายทางอากาศชัดเจน และไม่มีตำแหน่งแน่นอน นส3ก ครุฑดำ เพิ่มจาก นส3 คือมีรูปถ่ายทางอากาศและระวางชัดเจน นส4 ครุฑแดง หนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ ผู้มีชื่อในหนังสือสำคัญนี้สามารถใช้ความเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ในที่ดินนั้น เช็คเลขที่โฉนดให้เป็น และต้องดูขนาดของพื้นที่ดินที่จะทำการซื้อขายด้วยว่าถูกต้องตามสัญญาหรือไม่ โดยในโฉนดที่ดินจะระบุเนื้อที่แปลง ว่ามีจำนวน กี่ไร่ กี่งาน กี่ตารางวา และสุดท้ายดูด้านหลังโฉนดตรวจสอบดูว่าตอนนี้ใครเป็นเจ้าของ ในช่องผู้รับสัญญา ว่ามีชื่อตรงกับผู้จะขายที่ได้ทำสัญญาหรือไม่ หรือยังติดจำนองกับใคร โดยผู้ขายจะต้องชี้แจงบอกเราตามความเป็นจริง
2. นำสำเนาโฉนดที่ดินไปตรวจสอบที่ กรมที่ดิน เพื่อขอคัดสำเนาโฉนด ในส่วนนี้เราจะได้สำเนาโฉนดที่ อัพเดทที่สุดเพื่อเราจะเช็คว่าใครเป็นเจ้าของคนสุดท้ายและถูกต้องหรือไม่ โดยเราต้องเตรียม บัตรประชาชน และสำเนาทะเบียน บ้านของผู้ที่จะขอไปที่กรมที่ดิน และนำสำเนาโฉนดที่เราต้องการจะคัดไป ด้วยให้พนักงาน สามารถสอบถามที่ประชาสัมพันธ์ ของกรมที่ดินได้เลยครับ ซึ่งเราจะเช็คว่าตอนนี้เป็นชื่อใครครอบครองอยู่ตรงกับเอกสารที่ได้รับมาหรือไม่ และเป็นบุคคลคนเดียวกับคนที่เราจะซื้อขายหรือไม่
3. เช็ครูปแปลงที่ดิน ออนไลน์ โดยกรมที่ดินได้พัฒนาระบบการตรวจสอบที่ดิน โดยเราสามารถตรวจสอบที่ดินที่เราทำการซื้อมาได้โดยเข้าไปที่ เว็บไซด์ ระบบค้นหารูปแปลงที่ดิน – กรมที่ดิน เดี๋ยวจะเอา link ให้ด้านล่าง OK เดี่ยวเราเข้าไปดูกันนะครับ ก่อนเข้าเว็บไซด์ เพื่อนต้องรูเลขที่โฉนดกันก่อนนะครับ โดยเลขที่ดินจะอยู่บ้านบนโฉนดขวามือนะครับ
นี้ก็เป็น แชร์ 3 เทคนิค เช็คโฉนดที่ดินง่ายๆ ถ้าไม่อยากถูกหลอก สำหรับมือใหม่
สุดท้าย ผมขอให้ทุกท่านประสบความสำเร็จในสิ่งที่ทำนะครับ หากเพื่อนให้ว่าคลิปนี้มีประโยชน์ก็อย่าลืมกดติดตาม และแชร์ส่งต่อให้คนที่คุณรักเพื่อให้เค้าได้นำไปใช้ประโยชน์ก็จะดีมากๆเลยครับ คลิป หน้าผมจะนำเทคนิคดีๆเรื่อง บ้าน การเงิน การลงทุนมาแชร์ ให้เพื่อนได้ฟังกันอีกครับ หากเพื่อนคนไหนอยากได้คำปรึกษา สามารถติดต่อได้ตามช่องทางด้านล่างครับ ขอบคุณคุณทุกท่านที่ฟังกันจนจบเลยนะครับ สำหรับวันนี้ สวัสดีครับ
4. ที่มาข้อมูล : http://www.vtlandlawoffice.com/titledeed.html
5. เว็บไซด์ ระบบค้นหารูปแปลงที่ดิน – กรมที่ดิน : http://dolwms.dol.go.th/tvwebp/
6. รูปภาพ รูปภาพ : ihome108, freepik, กรมธนารัก
สนใจปรึกษา
Facebook : HomeDe4Uบ้านดีเพื่อคุณ
Websit: www.HomeDe4U.com
Youtube : Money Idea

3เทคนิคตรวจโฉนดที่ดินง่ายๆ

ทีดินแปลงข้างๆแอบย้ายหลักหมุดเข้ามากินที่เรา!!ต้องทำอย่างไรเพื่อป้องกันไม่ให้เสียที่ดินไป?


ย้ายหลักเขตที่ดิน แอบย้ายหมุด กินที่ดิน รุกล้ำ บุกรุก ขุดหลักหมุดออก เอาหลักหมุกไปทิ้ง แอบย้ายหลักหมุด เพื่อนบ้านไม่ดี เพื่อนบ้านแอบย้ายหมุดที่ดิน ครอบครองปรปักษ์ รังวัดที่ดิน ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา67 มาตรา363 แจ้งความ ฟ้องบุกรุก บทลงโทษเคลื่อนย้ายหลักหมุดที่ดิน หมุดที่ดินย้ายได้ไหม แนวเขตที่ดินหาย ที่ดินข้างเคียงกินที่ ที่ดินข้างเคียงรุกล้ำ หลักโฉนด แอบย้ายหลักโฉนด
0:00 เปิดเรื่อง
0:42 ห้ามเคลื่อนย้ายหลักหมุดโดยไม่ได้รับอนุญาตจามมาตรา 67 ประมวลกฎหมายที่ดิน
2:42 สิ่งที่ต้องทำหากถูกรุกล้ำหรือกินเนื้อที่ที่ดินหรือหลักหมุดโดนย้าย
4:27 สรุปสิ่งที่ต้องทำ
5:09 ครอบครองปรปักษ์
6:00 วิธีป้องกันการถูกครอบครองปรปักษ์เบื้องต้น

ทีดินแปลงข้างๆแอบย้ายหลักหมุดเข้ามากินที่เรา!!ต้องทำอย่างไรเพื่อป้องกันไม่ให้เสียที่ดินไป?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *