Home » ฎีกาชาวบ้าน: ภาษีธุรกิจเฉพาะ ค่าโอนบ้าน ใครต้องจ่าย? | ค่าโอน

ฎีกาชาวบ้าน: ภาษีธุรกิจเฉพาะ ค่าโอนบ้าน ใครต้องจ่าย? | ค่าโอน

ฎีกาชาวบ้าน: ภาษีธุรกิจเฉพาะ ค่าโอนบ้าน ใครต้องจ่าย?


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม http://www.matichon.co.th/news/47893
Official Matichon TV
ติดตามข่าวสารได้ใน
Web : http://www.matichon.co.th/default.php
Facebook : https://www.facebook.com/MatichonOnline
Instargram : https://instagram.com/matichononline
Twitter : https://twitter.com/matichononline
Google+ : https://plus.google.com/109225894671870773920/posts

ฎีกาชาวบ้าน: ภาษีธุรกิจเฉพาะ ค่าโอนบ้าน ใครต้องจ่าย?

ค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์บ้านและที่ดินปี 2563


โอนบ้านที่ดินเสียค่าใช้จ่ายเท่าไหร่
การโอนกรรมสิทธิ์บ้านและที่ดินจะมีค่าใช้จ่ายที่แตกต่างกันไปแล้วแต่กรณีและขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว​ ในกรณีที่เป็นการยกให้หรือโอนมรดกก็จะแตกต่างกันไป​ รวมทั้งการซื้อขายบ้านและที่ดิน โดยเฉพาะการซื้อขายบ้านที่ดินควรตกลงค่าใช้จ่ายกับระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายให้ชัดเจนก่อนตกลงซื้อขายกันนะคะ

ค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์บ้านและที่ดินปี 2563

สรุปจบในคลิปเดียว ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าโอนคอนโด ค่าใช้จ่ายในการโอนบ้านกรมที่ดิน | Guru Living


สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาคุยกันในอีกหนึ่งหัวข้อที่ได้รับความสนใจกันเป็นอย่างมากนะครับว่าการที่เราไปโอนบ้าน คอนโด หรือที่ดิน ณ กรมที่ดินเนี่ยเราจะมีค่าใช้จ่ายอะไรที่เราต้องเสียบ้างในฐานะทั้งเราเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็ตาม วันนี้ผมจะมาอธิบายค่าใช้จ่ายทุกๆอย่างโดยละเอียดเลยครับ

ก่อนอื่นเลยค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดินหากว่าเรามีการซื้อขาย บ้าน คอนโด หรือที่ดินกันจะมี 5 ตัวหลักๆครับคือ
1. ค่าธรรมเนียมการโอน
2. ค่าจดจำนอง
3. ค่าอากรแสตมป์
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
5.ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

1. ค่าธรรมเนียมการโอน
ค่าธรรมเนียมการโอนโดยปรกติแล้วจะคิดเท่ากับ 2% ของราคาประเมินกรมที่ดิน โดยต้องไม่สับสนกับราคาขาย และ ราคาประเมิณของธนาคารนะครับเป็นคนละตัวกัน ราคาประเมิณกรมที่ดินจะถูกประเมิณโดยอาศัยเกณของกรมที่ดินครับ ซึ่งโดยปรกติทั่วๆไปแล้วราคาจะต่ำกว่าทั้ง ราคาซื้อขาย และ ราคาประเมิณธนาคารครับ
(รัฐบาลได้มีการลดค่าธรรมเนียมจาก 2% เป็น 0.01% เฉพาะการซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ในวงเงินไม่เกิน 3 ล้านบาท จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2563 เท่านั้น)

2. ค่าจดจำนอง
กรณีซื้อขาย โดยจดจำนอง(กู้สินเชื่อธนาคาร) จะต้องมีการเสียค่าจดจำนองด้วยครับ โดยคิด 1% ของมูลค่าจำนอง พูดง่ายๆคือ 1% ของเงินที่เราไปกู้ธนาคารมาครับ ยกตัวอย่างเช่น เรากู้เงินธนาคาร 2.5 ล้านบ้าท ค่าจดจำนองจะคิด 1% ของ 2.5 ล้าน ได้ออกมาคือ 25,000 บาทครับ

แต่ในปี 2562 นี้ได้มีการปรับลดค่าจดจำนองลงเหลือ 0.01% เฉพาะกรณีที่มีการจำนองกับสถาบันการเงิน ในราคาซื้อขายและวงเงินจำนอง ไม่เกิน 3 ล้านบาท ตามนโยบายกระตุ้นการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาล จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2563 ซึ่งหากมูลค่าการซื้อขายมากกว่า 3 ล้านบาท ค่าจดจำนองยังคงคิด 1% ตามเดิม ทั้งนี้ การจดทะเบียนการโอนและการจดจำนอง ต้องดำเนินการในคราวเดียวกัน

3. ค่าอากรแสตมป์
กรณีซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ไม่ว่าจะเป็น บ้านเดี่ยว คอนโดมิเนียม ทาวน์เฮ้าส์ หากผู้ขายเป็นบุคคลธรรมดา แล้วมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเกิน 1 ปี หรือถือครองมาครบ 5 ปี จะต้องเสียค่าอากรแสตมป์ โดยมีอัตราคิดเป็น 0.5%ของราคาประเมิณกรมที่ดินครับ

เช่น หากบ้านมีราคาประเมิน 1.8 ล้านบาท แต่ราคาซื้อขาย อยู่ที่ 2 ล้านบาท ให้ยึดราคาซื้อขายเป็นเกณฑ์
2,000,000 x 0.5% = เสียค่าอากรแสตมป์ 10,000 บาท
โดยหากเสียค่าอากรแสตมป์แล้ว ไม่ต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะอีก
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
เมื่อเราขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยการซื้อขาย หรือ ได้รับเป็นมรดก จะต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยคิดเป็น 3.3% ของราคาขายหรือราคาประเมินทุนทรัพย์ แล้วแต่ราคาไหนที่สูงกว่า ยกเว้นแต่ ถ้าเราถือครองที่ดินเกิน 5 ปี หรือมีชื่อในทะเบียนบ้านเกิน 1 ปี ค่าภาษีธุรกิจจำเพาะจะถูกยกเว้นครับ
เช่น หากบ้านมีราคาประเมิน 1.8 ล้านบาท แต่ราคาซื้อขาย อยู่ที่ 2 ล้านบาท ให้ยึดราคาซื้อขายเป็นเกณฑ์
2,000,000 x 3.3% = เสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 66,000 บาท

5. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย
สำหรับผู้ขาย เมื่อขายอสังหาริมทรัพย์แล้วจะมีค่าใช้จ่ายอีกตัวนึงที่ตามมาครับ แต่ถ้าหากเราเป็นผู้ซื้อค่าใช้จ่ายนี้ไม่เกี่ยวข้องกับเรานะครับ ค่าใช้จ่ายตัวนี้คือ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเกณในการเรียกเก็บจะคิดจากราคาประเมินที่ดิน หักค่าใช้จ่ายตามอัตราที่กำหนด หารปีที่ถือครอง คูณอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ถ้าจนถึงตอนนี้ใครยังงงอยู่ไม่เป็นไรนะครับ เพราะสุดท้ายตัวเลขพวกนี้กรมที่ดินเขาจะคิดคำนวนออกมาให้เราครับ เพียงแต่ว่าถ้าเราสามารถคำนวนตัวเลขเหล่านี้ได้ก่อน จะทำให้เราสามารถรู้รายจ่ายที่กำลังจะเกิดขึ้น พร้อมเตรียมรับมือ วางแผนหารายได้มารองรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้ครับ
ค่าโอน ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าธรรมเนียมการโอน โอนบ้าน โอนที่ โอนที่ดิน ค่าธรรมเนียมการโอนที่ดิน ค่าธรรมเนียมโอนที่ดิน ค่าจดจำนอง ค่าอากรแสตมป์ ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีขายบ้าน

สรุปจบในคลิปเดียว ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าโอนคอนโด  ค่าใช้จ่ายในการโอนบ้านกรมที่ดิน | Guru Living

จะโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินให้ญาติพี่น้อง ต้องทำยังไง เสียค่าใช้จ่ายเท่าไหร่ | Koy My Property Pro


รู้เรื่องโอนที่ดิน ให้ญาติพี่น้อง
เสียค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง พร้อม
ข้อควรระวังหลังหลังจากโอนให้แล้ว
กรณีค่าโอนที่ดินให้กับญาติพี่น้องนั้น
แม้จะมีความเกี่ยวพันกันทางสายเลือด
แต่ก็มีความแตกต่างกันตามแต่ละ
กรณี โดยสามารถดูได้จากคลิปได้เลยค่ะ
ให้เรื่องอสังหาฯเป็นเรื่องง่ายกับ My Property Pro
ช่องทางการติดต่อ
ทักคุณก้อยⓀⓄⓎ✆℡: 0638242656
Line ➲ https://bit.ly/2FDfUyz
Line ➲ https://bit.ly/2JsCr0N
Inbox 📩
http://m.me/mypropertypro
……………….
Facebook fan page
https://www.facebook.com/MyPropertyPro9/
……………….
Website
http://mypropertypro.myweb.in.th/
……………….
YouTube ⏩ https://bit.ly/3cl3BCd
TikTok ⏩ https://bit.ly/2Zgrir8
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินให้ญาติพี่น้อง ค่าใช้จ่ายในการโอนที่ดิน การโอนกรรมสิทธิ์ บ้าน บ้านมือสอง ทาวน์โฮม ขายบ้าน ขายที่ดิน ขายฝากบ้าน คอนโด คอนโดให้เช่า บ้านเช่า เช่าคอนโด ซื้อบ้าน อสังหาริมทรัพย์ kaidee mypropertypro 4289
Credit:Bensound.com/Freepik.com

จะโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินให้ญาติพี่น้อง ต้องทำยังไง เสียค่าใช้จ่ายเท่าไหร่ |  Koy My Property Pro

ขั้นตอนการโอนย้ายกรรมสิทธิ์ผู้ถือครองรถยนต์และรถจักรยานยนต์


“โอนรถ” …เรื่องง่ายไม่ยากแค่อาจจะเสียเวลานิดหน่อย
การโอนกรรมสิทธิ์รถ เตรียมเอกสารดังนี้
1.ใบคู่มือจดทะเบียนรถ
2.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ถ้ากรณีเป็นนิติบุคคลใช้หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของกรรมการผุ้มีอำนาจลงนาม
3.สัญญาซื้อขาย ใบเสร็จรับเงิน และใบกำกับภาษี
4.สำเนาใบมรณะบัตรเจ้าของรถ และคำสั่งศาลหรือพินัยกรรมพร้อมสำเนา (กรณีโอนรับมรดก)
5.แบบคำขอโอนและรับโอน ซึ่งกรอกรายการและลงลายมือชื่อผู้โอนและผู้รับโอนเรียนร้อยแล้ว
6.หนังสือมอบอำนาจพร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้รับมอง กรณีผู้โอน และ/หรือผู้รับโอนมิได้มาดำเนินการด้วยตัวเอง
อัตราค่าธรรมเนียมและบัญชีอัตราภาษี ตามพ.ร.บ.การขนส่งทางบกและตามพ.ร.บ.รถยนต์
1 ค่าคำขอ 5 บาท
2 ค่าธรรมเนียมการโอน 100 บาท
3 ค่าอากรแสตมป์ 500 บาท ต่อราคาประเมินรถทุก 100,000 บาท
4 ค่าเปลี่ยนป้ายทะเบียน 200 (ถ้าเปลี่ยน)
5 ค่าเปลี่ยนเล่มทะเบียน 100 บาท (กรณีเล่มทะเบียนชำรุด หรือ เก่า)
หวังว่าจะมีประโยชน์นะครับผม หรือโทร 1584 Call Center กรมการขนส่งทางบก
ขั้นตอนการโอนรถ โอนย้ายกรรมสิทธิ์ผู้ถือครองรถยนต์ และ โอนรถจักรยานยนต์ โอนรถ โอนรถมอเตอร์ไซด์
กดติดตาม : https://s66j9.app.goo.gl/eNh4
Vlog แหล่งรวมเรื่องราวสาระความรู้ | thailand clip : https://s66j9.app.goo.gl/d7Sv
ไอที​ มีสาระ | thailand clip : https://s66j9.app.goo.gl/XgF6
เมนูกับข้าว,เมนูอาหาร | thailand clip food : https://s66j9.app.goo.gl/JGMX

ขั้นตอนการโอนย้ายกรรมสิทธิ์ผู้ถือครองรถยนต์และรถจักรยานยนต์

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *