Home » การแบ่งทรัพย์มรดก ทายาทโดยธรรม ,กฎหมายมรดก คู่สมรส | แบ่ง มรดก

การแบ่งทรัพย์มรดก ทายาทโดยธรรม ,กฎหมายมรดก คู่สมรส | แบ่ง มรดก

การแบ่งทรัพย์มรดก ทายาทโดยธรรม ,กฎหมายมรดก คู่สมรส


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

มาตรา 1603 กองมรดกย่อมตกทอดแก่ทายาทโดยสิทธิตามกฎหมายหรือโดยพินัยกรรม
ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมาย เรียกว่า “ทายาทโดยธรรม”
ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม เรียกว่า “ผู้รับพินัยกรรม” 
ผู้รับพินัยกรรม
1.ถ้ามีพินัยกรรม ทรัพย์สินที่ถูกระบุไว้ในพินัยกรรมเท่านั้นที่จะถูกบังคับให้เป็นไปตามที่พินัยกรรมระบุไว้ ส่วนทรัพย์มรดกอื่นๆที่ไม่ได้ระบุไว้ในพินัยกรรมให้แบ่งทายาทโดยธรรม ผู้มีสิทธิรับมรดกตามกฎหมาย (ม.1620 วรรค 2)
2.ทายาทที่รับมรดกตามพินัยกรรมแล้ว สามารถแบ่งทรัพย์มรดกในส่วนของทรัพย์สินที่ไม่ได้ระบุในพินัยกรรมได้ (ม.1621)

การแบ่งมรดกแก่ทายาทโดยธรรม
1.ทายาทโดยธรรม 6 อันดับ (ม.1629, 1635 (1) , ม.1627 , ม.1630 วรรค สอง) คู่สมรสและบิดามารดาได้ส่วนแบ่งเสมือนชั้นบุตร
มาตรา 1629 ทายาทโดยธรรมมีหกลำดับเท่านั้น และภายใต้บังคับแห่งมาตรา 1630 วรรค 2 แต่ละลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลังดั่งต่อไปนี้ คือ
(1) ผู้สืบสันดาน
(2) บิดามารดา
(3) พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
(4) พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
(5) ปู่ ย่า ตา ยาย
(6) ลุง ป้า น้า อา
คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้นก็เป็นทายาทโดยธรรม ภายใต้บังคับของบทบัญญัติพิเศษแห่งมาตรา 1635
มาตรา 1635 ลำดับและส่วนแบ่งของคู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ในการรับมรดกของผู้ตายนั้น ให้เป็นไปดั่งต่อไปนี้
(1) ถ้ามีทายาทตามมาตรา 1629 (1) ซึ่งยังมีชีวิตอยู่หรือมีผู้รับมรดกแทนที่แล้วแต่กรณี คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้น มีสิทธิได้ส่วนแบ่งเสมือนหนึ่งว่าตนเป็นทายาทชั้นบุตร
มาตรา 1627 บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วและบุตรบุญธรรมนั้นให้ถือว่าเป็นผู้สืบสันดาน เหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี้
การแบ่งทรัพย์มรดก
1.แบ่งให้คู่สมรสก่อน (ม.1625)
2.แบ่งตามลำดับชั้นทายาทโดยธรรม
รับชมเนื้อหาในคลิปเพิ่มเติมได้เลยนะคะ
 
หากคลิปนี้ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะคะ
Page Facebook : ModernLaw
หรือคลิกที่ลิงค์ : https://www.facebook.com/modernlawth

การแบ่งทรัพย์มรดก ทายาทโดยธรรม ,กฎหมายมรดก คู่สมรส

เมื่อทรัพย์มรดกไม่ได้แบ่ง แล้วเจ้ามรเกตาย ทายาทจะต้องทำยังไง


เมื่อทรัพย์มรดกไม่ได้แบ่ง แล้วเจ้ามรเกตาย ทายาทจะต้องทำยังไง

เมื่อทรัพย์มรดกไม่ได้แบ่ง แล้วเจ้ามรเกตาย ทายาทจะต้องทำยังไง

ทนายมารขั้นเทพ- ผู้จัดการมรดกไม่ยอมแบ่งมรดก แก้ไขยังไง


เพจกฎหมายน่ารู้กับทนาย มารขั้นเทพ
https://www.facebook.com/1493829464261491/posts/1766929263618175/

ทนายมารขั้นเทพ- ผู้จัดการมรดกไม่ยอมแบ่งมรดก แก้ไขยังไง

เมื่อผู้จัดการมรดกไม่ยอมแบ่งให้ทายาทอื่นWhen the estate manager refused to divide the other heirs.


ติดตามได้ที่เพจhttps://www.facebook.com/landlawjarnwa
ผู้จัดการไม่แบ่งมรดก

เมื่อผู้จัดการมรดกไม่ยอมแบ่งให้ทายาทอื่นWhen the estate manager refused to divide the other heirs.

มรดก : ทายาท ผู้มีสิทธิรับมรดก , การแบ่งมรดกระหว่าง ผู้รับพินัยกรรม กับ ทายาทโดยธรรม


มรดก : ทายาท ผู้มีสิทธิรับมรดก , การแบ่งมรดกระหว่าง ผู้รับพินัยกรรม กับ ทายาทโดยธรรม
เมื่อเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย มรดกย่อมตกทอดไปสู่ \”ทายาท\” ของเจ้ามรดก (มาตรา 1599 วรรค 1)
ซึ่งทายาทของเจ้ามรดก มี 2 ประเภท(มาตรา 1603) คือ ทายาท ประเภท ผู้รับพินัยกรรม กับ ทายาทโดยธรรม
ผู้รับพินัยกรรมจะได้รับมรดกก่อนทายาทโดยธรรม หากแบ่งมรดกให้แก่ทายาทประเภท ผู้รับพินัยกรรมแล้ว ยังมีทรัพย์มรดกเหลืออยู่ ให้แบ่งทรัพย์มรดกที่เหลือนั้นให้แก่ทายาทโดยธรรม

มรดก : ทายาท ผู้มีสิทธิรับมรดก , การแบ่งมรดกระหว่าง ผู้รับพินัยกรรม กับ ทายาทโดยธรรม

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *