Home » การแจ้งเข้า – ออกจาก คนงานต่างด้าว (มาตรา 13) | การแจ้งความต้องการจ้างคนต่างด้าว

การแจ้งเข้า – ออกจาก คนงานต่างด้าว (มาตรา 13) | การแจ้งความต้องการจ้างคนต่างด้าว

การแจ้งเข้า – ออกจาก คนงานต่างด้าว (มาตรา 13)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ยกเลิกการเปลี่ยนนายจ้าง
โดยใช้การแจ้งเข้า – ออกจาก คนงานต่างด้าว (มาตรา 13)
https://www.passport.co.th/mustknow/493/
บริการแจ้งเข้าแรงงานต่างด้าว
https://www.passport.co.th/service/915/
บริการแจ้งออกแรงงานต่างด้าว
https://www.passport.co.th/service/906/
พระราชกำหนด
การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว
พ.ศ. ๒๕๖๐
มาตรา ๑๓ ผู้ใดจ้างคนต่างด้าวทำงาน ต้องแจ้งให้นายทะเบียนทราบชื่อและ
สัญชาติของคนต่างด้าวและลักษณะงานที่ให้ทำภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่จ้างและเมื่อคนต่างด้าวนั้น
ออกจากงานให้แจ้งให้นายทะเบียนทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่คนต่างด้าวออกจากงาน พร้อมทั้ง
ระบุเหตุแห่งการออกจากงานของคนต่างด้าวนั้นด้วย
ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับแก่คนต่างด้าวประเภทที่อธิบดีประกาศกำหนด
1. การแจ้งเข้าทำงานให้แจ้งภายใน 15 วัน นับแต่วันที่จ้าง
วิธีนับ รับเข้าทำงาน 1 พ.ค. 2562
แจ้งเข้าทำงานภายใน 16 พ.ค. 2562
———————
2. การแจ้งออกจากงานให้แจ้งออกจากงานภายใน 15 วัน นับแต่วัน
ออกจากงาน
วิธีนับ ออกจากงาน 1 พ.ค. 2562
แจ้งออกจากงานถายใน 31 พ.ค. 2562
——————–
3. คนต่างด้าว (บัตรสีชมพู) ออกจากงานต้องหานายจ้างใหม่ให้ได้ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ไม่ได้ทำ
งานอยู่กับนายจ้างเดิมมิฉะนั้นการอนุญาติให้อยู่ในราชอาณาจักรสิ้นสุดตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
และเมื่อหานายจ้างใหม่ได้แล้ว ต้องแจ้งนายทะเบียนภายใน 15 วัน
วิธีนับ ออกจากงาน 1 พ.ค. 2562
หานายจ้างใหม่ภายใน 16 พ.ค. 2562
เข้าทำงานกับนายจ้างใหม่ 16 พ.ค. 2562
แจ้งเข้าทำงานภายใน 31 พ.ค. 2562
——————–
คำเตือน
นายจ้างไม่แจ้งการเข้าทำงานของคนต่างด้าว/นายจ้างไ่ม่
แจ้งการออกจากงานของคนต่างด้าว มีโทษปรับไม่เกิน
2 หมื่นบาท
คนต่างด้าว ไม่แจ้งเข้าทำงาน มีโทษปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท
บริษัท นำคนต่างด้าวมาทำงานในประเทศ โกเบิ้ล อีเว้นท์ จำกัด
ใบอนุญาตเลขที่ นจ.0036/2560
เรื่องแรงงานต่างด้าว
ติดต่อ บริการ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
โทร 028215965
นนทบุรี (สี่แยกแคราย) กด1
รัชดา (BTS ศูนย์วัฒนธรรม) กด2
สมุทรปราการ บางพลี (รพ.บางนา2) กด3
LINE ID: @passportvisa

การแจ้งเข้า – ออกจาก คนงานต่างด้าว (มาตรา 13)

การเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว ในช่วงสถานการณ์ COVID-19


การเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว ในช่วงสถานการณ์ COVID19
เนื่องจากมีประกาศเรื่องการห้ามแรงงานต่างด้าวข้ามจังหวัด
ทำให้แรงงานต่างด้าวที่ต้องการจะเปลี่ยนนายจ้างเปลี่ยนได้เฉพาะที่นายจ้างอยู่ภายในจังหวัดเดียวกันเท่านั้นและต้องถูกต้องตามเงื่อนไขการเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว 6 ข้อดังนี้
1.นายจ้างเลิกจ้าง นายจ้างเสียชีวิต
2.นายจ้างล้มละลาย
3.นายจ้างกระทำทารุณกรรมหรือทำร้ายร่างกายลูกจ้าง
4.นายจ้างไม่ปฏิบัติตามสัญญาจ้างหรือกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
5.ลูกจ้างทำงานในสภาพแวดล้อมที่อันตรายต่อชีวิต จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย
6.นายจ้างใหม่ยินยอมชดใช้ค่าเสียหายให้นายจ้างเดิม
สรุป
ยังไม่สามารถเปลี่ยนนายจ้างข้ามจังหวัดได้
เปลี่ยนได้เฉพาะที่นายจ้างอยู่ภายในจังหวัดเดียวกันเท่านั้น
อ่านเพิ่มเติม
https://www.passport.co.th/mustknow/changeemployercovid19/
บริการแจ้งเข้า
https://www.passport.co.th/service/workerin/
บริการแจ้งออก
https://www.passport.co.th/service/workerout/
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
บริษัท นำคนต่างด้าวมาทำงานในประเทศ โกลเบิ้ล อีเว้นท์ จำกัด
ใบอนุญาตเลขที่ นจ.0036/2560
โทร 028215965
นนทบุรี (สี่แยกแคราย) กด1
https://lin.ee/6JMHpxg
รัชดาซอย22 (MRT รัชดา) กด2
https://lin.ee/s7oT5Hj
สมุทรปราการ บางพลี (รพ.บางนา2) กด3
https://lin.ee/5ieFkR4

การเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว ในช่วงสถานการณ์ COVID-19

ครม. ขยายเวลาให้ \”คนต่างด้าว\” อยู่ต่อถึง 31 ธ.ค. 2564 : คนคุยข่าวสุดสัปดาห์


ครม.อนุมัติขยายเวลาอนุญาตให้ \”คนต่างด้าว\” อยู่ต่อได้ถึง 31 ธ.ค.2564

ครม.อนุมัติหลักการร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการอนุญาตให้คนต่างด้าวบางจำพวกอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ (ฉบับที่ ..) ตามที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติเสนอ เพื่อเป็นการแก้ไข และบรรเทาผลกระทบแก่คนต่างด้าว ที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว ซึ่งมีสาระสำคัญเป็นการขยายระยะเวลาอนุญาตให้คนต่างด้าวบางจำพวกอยู่ในราชอาณาจักร และการแจ้งที่พักอาศัยต่อไปได้ ตั้งแต่วันที่ประกาศฉบับนี้มีผลบังคับใช้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2564 ดังนี้

1. คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว ตามประเภทการตรวจลงตรา (รวมทั้งการตรวจลงตรา Visa on Arrival)

2. คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว ซึ่งได้รับสิทธิตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.2514 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ.2520 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หรือตามประกาศกระทรวงมหาดไทยที่เกี่ยวข้อง

3.กำหนดให้คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วันแล้ว ครบกำหนดระยะเวลาการแจ้งที่พักอาศัย ให้ได้รับการขยายระยะเวลาการแจ้งที่พักอาศัย ตั้งแต่วันที่ประกาศฉบับนี้มีผลบังคับใช้ถึง 31 ธ.ค. 2564

อย่างไรก็ตามหลังจากมีการเปิดประเทศส่งผลให้ผู้ประกอบการหลายแห่งมีความต้องการแรงงานในการเปิดกิจการกิจกรรม ทางกระทรวงสาธารณสุขจึงจัดฉีดวัคซีนโควิดให้กลุ่มคนต่างด้าวทุกคนที่อยู่ในประเทศไทย ทั้งที่ขึ้นทะเบียนถูกต้องและไม่ได้ขึ้นทะเบียน ได้แก่
👍 แรงงานต่างด้าวภาคประมงและคนประจำเรือไทยในจังหวัดชายทะเล
21 จังหวัด
👍 แรงงานต่างด้าวในสถานประกอบการ และ ที่พักอาศัย (บ้าน)
👍 แรงงานต่างด้าวตามเขตชายแดน
👍 กลุ่มที่หนีภัยสู้รบในศูนย์พักพิง จ.ราชบุรี กาญจนบุรี แม่ฮ่องสอนและตาก ตลอดจนกลุ่มอื่น ๆ ที่ไม่ใช่สัญชาติไทยทั้งหมด
ขณะที่ ศบค. มีมติเห็นชอบแนวทางของกระทรวงแรงงานในการนำแรงงานต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 โดยจะเปิดให้มีการนำเข้าแรงงานตาม MoU ซึ่งนายจ้างสามารถยื่นความต้องการจ้างแรงงานได้ที่กรมการจัดหางาน มีทั้งหมด 8 ขั้นตอน ดังนี้
1. ยื่นคำร้องขอนำเข้าแรงงานต่างด้าว
2. จัดส่งคำร้องความต้องการจ้างแรงงานต่างด้าว
3. การดำเนินการของประเทศต้นทาง
4. ยื่นขอรับใบอนุญาตทำงานแทนคนต่างด้าว
5. การอนุญาตให้นำแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานกับนายจ้าง
6. การเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร
7. เข้ารับการกักตัว
8. การอบรมและใบอนุญาตทำงาน

ครม. ขยายเวลาให้ \

การขึ้นทะเบียนแบบมีนายจ้างและไม่มีนายจ้าง สำหรับแรงงานต่างด้าว


ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนสำหรับคนต่างด้าวที่มีนายจ้างและไม่มีนายจ้าง เพื่อทำงานในประเทศไทยอย่างถูกกฎหมาย
นายจ้าง สถานประกอบการ ที่ประสงค์จะจ้างคนต่างด้าว และคนต่างด้าวที่ไม่มีนายจ้าง สัญชาติ กัมพูชา ลาว และเมียนมา
โดยแจ้งข้อมูล ยื่นเอกสาร และปฏิบัติตามระยะเวลาที่กรมการจัดหางานกำหนด

การขึ้นทะเบียนแบบมีนายจ้างและไม่มีนายจ้าง สำหรับแรงงานต่างด้าว

โดนหลอกให้โอนเงิน ทำยังไง ? | กรณีโอนผ่านบัญชีธนาคาร by SINE DOPA


ทำอย่างไรถ้าโดนโกง มีทางได้เงินคืนมั้ย ?
1. ตั้งสติ เรียบเรียงเหตุการณ์
2. รวบรวมพยานหลักฐานให้ได้มากที่สุด
3. แจ้งความเพื่อดำเนินคดี (ไม่ใช่แค่ลงบันทึกประจำวันนะ)
4. นำหลักฐานต่างๆ และเอกสารตราครุฑ (ที่ ตร.ออกให้) ระบุคำสั่งให้อายัดบัญชีที่ต้องสงสัย แล้วเดินทางไปยังธนาคารของคนที่หลอกเรา สาขาใดก็ได้
5. แจ้งธนาคารว่า ต้องการอายัดบัญชีคนที่โกงเรา และขอเงินคืน
6. ถ้าธนาคารไม่คืนเงิน ต้องดำเนินคดีต่อไปให้ถึงที่สุด
โดนโกงเงิน
โดนหลอกให้โอนเงิน
วิธีเอาเงินคืน

โดนหลอกให้โอนเงิน ทำยังไง ? | กรณีโอนผ่านบัญชีธนาคาร by SINE DOPA

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *