Home » EP.23 “Update เงินชดเชยให้แก่ลูกจ้าง” 😆👏🏻😍 รายการโอห์มลอว์ ฅ.กฎหมาย | เงิน ชดเชย ตาม กฎหมาย แรงงาน

EP.23 “Update เงินชดเชยให้แก่ลูกจ้าง” 😆👏🏻😍 รายการโอห์มลอว์ ฅ.กฎหมาย | เงิน ชดเชย ตาม กฎหมาย แรงงาน

EP.23 “Update เงินชดเชยให้แก่ลูกจ้าง” 😆👏🏻😍 รายการโอห์มลอว์ ฅ.กฎหมาย


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เงินชดเชยกรณีเลิกจ้าง เงินทดแทนให้แก่ลูกจ้าง อัปเดตเงินชดเชยกฎหมายแรงงาน กฎหมายแรงงาน Ohmslaw
รายการโอห์มลอว์ ฅ.กฎหมาย
EP.23 “Update เงินชดเชยให้แก่ลูกจ้าง” 😆👏🏻😍
ในปี 2562 กฎหมายแรงงานได้มีการแก้ไขจำนวนเงินชดเชยที่นายจ้างจะต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้าง ทั้งเงินค่าชดเชยในกรณีที่นายจ้างจะต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้างเมื่อเลิกจ้าง และเงินทดแทนกรณีที่ลูกจ้างประสบอันตรายจากการทำงานให้แก่นายจ้าง ซึ่งจำนวนเงินที่แก้ไขจะเป็นจำนวนเท่าไหร่นั้น เชิญรับชมพร้อมกันในรายการได้เลยครับ 😄💸💰
กดLike กดShare กดติดตาม กดได้เลย❤️
ติดตามคลิปอื่น ๆ ของทางสถาบันฯได้ที่…
✅ Youtube Channel : สถาบันติวกฎหมาย Ohm’s Law โอห์ม ลอว์
หรือคลิก https://goo.gl/5WWGvM
✅ LINE@ : @OhmsLawTutor
หรือคลิก https://line.me/R/ti/p/%40ohmslawtutor
ฝากความสำเร็จให้เราดูแล ❤️
สถาบันติวกฎหมายโอห์มลอว์
โทร. 0888859768, 0271888456
ซ.รามคำแหง 43/1 เปิดทำการทุกวัน 09.0018.00 น.
ดูคอร์สติวทั้งหมด www.OhmsLawTutor.com

EP.23 “Update เงินชดเชยให้แก่ลูกจ้าง” 😆👏🏻😍 รายการโอห์มลอว์ ฅ.กฎหมาย

#ประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุ#ย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!


สำหรับผู้ประกันตนไม่ว่าจะเป็นแรงงานไทย แรงงานต่างด้าว พม่า ลาว กัมพูชา หรือชาติอื่นที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม นำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมทุกเดือน เกษียนแล้วอย่าลืมรับสิทธิ์ กรณีเกณียนที่สำนักงานประกันสังคม ต้องทำอย่างไรบ้าง หากทำเรื่องแล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าจะได้รับเงินเท่าไหร่ ประมาณกี่วันถึงจะได้รับเงินเกษียณ มีคำตอบทุกประเด็นสงสัยประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!ประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!

#ประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุ#ย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!

#นายจ้างไม่จ่ายเงินเดือน ค่าชดเชย ค่าบอกกล่าว จัดการด้วยวิธีนี้…


ลูกจ้างหลายรายถูกนายจ้างเอาเปรียบ ไม่จ่ายค่าจ้าง เงินเดือน ที่ค้างจ่าย หรือเงินประกันการทำงาน หลังจากลาออกหรือถูกเลิกจ้าง ไม่จ่ายค่าชดเชย ค่าบอกกล่าวล่วงหน้าตามที่กฎหมายกำหนดไว้ หรือไม่จ่ายค่าเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทำให้ลูกจ้างเดือนร้อน ซึ่งลูกจ้างบางคนไม่รู้ว่าจะต้องทำอย่างไรต่อ ทำอย่างไรถึงจะได้เงินดังกล่าวจากนายจ้าง ดังนั้น ผมจึงทำคลิปนี้ขึ้นมาเพื่อหวังว่าจะช่วยเป็นทางออกให้ลูกจ้างที่ตกอยู่ในสถานการณ์ดังกล่าวนี้ ให้ช่วยฝ่าวิกฤตินี้ไปได้

#นายจ้างไม่จ่ายเงินเดือน  ค่าชดเชย ค่าบอกกล่าว จัดการด้วยวิธีนี้...

Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?


Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?
การเกษียณอายุ ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน กำหนดอายุการเกษียณไว้ที่ 60 ปีบริบูรณ์ และให้ถือเสมือนว่าการเกษียณอายุเป็นการเลิกจ้าง นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยตามกฎหมายนะคะ โดยการเกษียณอายุของลูกจ้าง แบ่งออกเป็น 2 กรณีดังนี้
1. กรณีนายจ้างกำหนดอายุเกษียณอายุไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือกำหนดไว้ในสัญญาจ้าง ให้ลูกจ้างเกษียณก่อนครบ 60 ปีบริบูรณ์ ให้ถือว่าการเกษียณอายุเป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือในสัญญาจ้างนั้น
2. กรณีนายจ้างกำหนดอายุเกษียณอายุไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือกำหนดไว้ในสัญญาจ้าง ให้ลูกจ้างเกษียณอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ หรือหากนายจ้างไม่ได้กำหนดการเกษียณอายุไว้ ลูกจ้างมีสิทธิขอเกษียณอายุเองได้ โดยแสดงเจตนาต่อนายจ้างได้เมื่ออายุครบ 60 ปีขึ้นไป และให้มีผลเมื่อครบ 30 วัน หลังการแสดงเจตนากับนายจ้าง
การเกษียณอายุลูกจ้างไม่ได้สิทธิค่าบอกกล่าวล่วงหน้านะคะ นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุเกษียณอายุตามระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือตามที่กำหนดไว้ในสัญญาจ้างแล้ว จึงไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าให้ลูกจ้างทราบ เพราะลูกจ้างทราบล่วงหน้าอยู่เเล้วว่าการเกษียณอายุจะเกิดขั้นเมื่อใด ดังนั้น โดยข้อกฎหมาย นายจ้างจึงไม่ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า แต่ต้องจ่าย ค่าชดเชยตามอายุงาน ดังนี้ค่ะ
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ยังไม่ครบ 1 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ยังไม่ครบ 3 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ยังไม่ครบ 6 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ยังไม่ครบ 10 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 10 ปี แต่ยังไม่ครบ 20 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 20 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400 วัน
คู่มือมนุษย์เงินเดือน

Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?

แต่ละเดือนค่าจ้างไม่เท่ากัน คิดเงินชดเชยการเลิกจ้างอย่างไร【ตอบคำถามกฎหมายแรงงานและประกันสังคมEP.239】


จากคำถาม
\”ขอถามสมมุติ เงินเดือนปีบัญชี2564 59,000 บาท/เดือน ปีบัญชี 2563 57,000 บาท/เดือน เกษียณ 30 กย.64 คิดเงินชดเชย 400วัน ที่ถูกต้องคือ ใช้ฐานเงินเดือน 59,000 บ. = 365 วัน+ฐานเงินเดือน 57,000บ.=35 วัน หรือไม่คะ ขอให้ตอบด้วย\”

แต่ละเดือนค่าจ้างไม่เท่ากัน คิดเงินชดเชยการเลิกจ้างอย่างไร【ตอบคำถามกฎหมายแรงงานและประกันสังคมEP.239】

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *