NỘI DUNG BÀI VIẾT
AIA 20 Pay Life (Non Par) | เอไอเอ ตลอดชีพ ชำระเบี้ยประกันภัย 20 ปี (ไม่มีเงินปันผล)
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
ข้อมูลแบบประกันชีวิต AIA 20 Pay Life (Non Par)
เอไอเอ ตลอดชีพ ชำระเบี้ยประกันภัย 20 ปี (ไม่มีเงินปันผล)
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : https://goodmoney.in.th/aia20paylife/
ข่าว : ร้องทุกข์ เอไอเอ ไม่เครมประกัน
แอป myAIS โฉมใหม่ แอปที่ลูกค้าเอไอเอสทุกคนต้องมี
คลิปนี้เราสองคนพาทุกคนไปลองใช้งานแอป myAIS โฉมใหม่ สีสันสดใสขึ้น ใช้งานง่าย สบายตา แอปเดียวที่ครบทั้งบริการและสิทธิพิเศษ พร้อมฟีเจอร์ที่น่าสนใจอีกมากมายที่จะทำให้ลูกค้า AIS อยากเปิดเข้าไปใช้งานทุกวัน แอป myAIS รู้ใจยิ่งกว่า พิเศษครบทุกวัน
.
โหลดเลยที่ https://m.ais.co.th/KYHo8wKux
.
Disclosure: คลิปวิดีโอนี้ ได้รับการสนับสนุนจาก AIS
.
แอปmyAIS AIS ยิ่งใช้ยิ่งถูกใจ ของมันต้องโหลด
myAISปรับเพื่อเปลียน ต้องโหลดละแมะ
น้ำมันแพง แจกแล้วปล้น Ep113(Full Program)
Full Program มาเเล้วครับ ใครที่พลาดรับชมได้เลยครับ
SONDHITALK : ผู้เฒ่าเล่าเรื่อง Ep113 (Full Program)
หลายๆคนบ่นเรื่องราคาน้ำมันแพง โดยเฉพาะน้ำมันดีเซลที่ใช้ในภาคการขนส่งสินค้าอุปโภคบริโภค ราคาน้ำมันที่เเท้จริงควรอยู่ที่เท่าไหร่ เเละเรื่องนี้ควรเเก้อย่างไร ?
รองผอ.CIA จะเข้าพบรัฐบาล เหตุการณ์นี้ไม่ใช่เรื่องปกติเเน่นอน มาคุยอะไรกัน?
ทรู จับมือ ดีแทค รวบกิจการผูกขาดโทรคมนาคม จริงๆแล้วเป็นเช่นไร ผูดขาดหรือแข่งขัน ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์
คดีเสี่ยโจ้ ค้าน้ำมันเถื่อน ที่หลายๆคนมองข้าม เเต่จริงๆเเล้วมันคือความจริงที่ปวดร้าว เพราะเป็นการล่มสลายของทุกระบบในประเทศไทย
YoutubeSondhitalk: https://www.youtube.com/c/Sondhitalk
Website: https://www.sondhitalk.com
Podcast Sondhitalk: https://sondhitalk.podbean.com/
ฉีกหน้ากา \”ฟาวิพิราเวียร์\”. 09:38
TRUE / DTAC ควบกิจการ ผูกขาดไม่ผูกขาด. 27:02
นายก \”พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง\”. 46:03
รอง ผอ. CIAพบรัฐบาล คุยเรื่องอะไร. 59:00
ปม \”น้ำมันดีเซลแพง\” ต้องแก้ที่ตรงไหน. 01:15:43
เบื้องหลัง \”เสี่ยโจ้ น้ำมันเถื่อน\” 01:35:34
ทิ้งไม่เห็นฝุ่น! อดีตกกต.สมชัย วิเคราะห์เลือกตั้งครั้งหน้า เพื่อไทยกินขาด! งานนี้พปชร.ต้องโทษตัวเอง
นายสมชัย ศรีสุทธิยากร ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยการเมืองและการพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต และอดีตกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้โพสต์ถึงกรณีที่รัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ในประเด็นเรื่องใบเลือกตั้ง มีผลบังคับใช้ โดยมีรายละเอียดดังนี้
“รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ประกาศในราชกิจจาฯ มีผลบังคับใช้วันนี้
จากนี้ ระบบการเลือกตั้ง เปลี่ยนเป็นบัตรสองใบ สัดส่วน ส.ส. เขต ต่อ บัญชีรายชื่อ เปลี่ยนเป็น 400 : 100
ผมเคยคำนวณ การเปลี่ยนแปลงจำนวน ส.ส.บัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคจะได้ภายใต้กติกาใหม่ โดยใช้ฐานคะแนนการเลือกตั้งปี 2562 เป็นข้อมูล ปรากฏว่า เพื่อไทย ได้เพิ่มจาก 0 เป็น 22 พลังประชารัฐ เพิ่มจาก 19 เป็น 24 อนาคตใหม่ (ก้าวไกล) ลดจาก 50 เหลือ 18 พรรคกลาง พรรคเล็ก ลดลงทุกพรรค (ยกเว้น ประชาชาติ) พรรคจิ๋ว 1 เสียง 12 พรรค สูญพันธุ์หมด
พลังประชารัฐอย่าเพิ่งดีใจ เพราะคราวที่แล้วเพื่อไทย ส่งผู้สมัครเขตเพียงแค่ 238 เขตจาก 350 เขต หรือคิดเป็นร้อยละ 68 และด้วยระบบบัตรใบเดียว เขตใดไม่ส่งเขตนั้นไม่มีคะแนน ส.ส.บัญชีรายชื่อ แต่คราวนี้เป็นระบบบัตรสองใบ แม้ส่งไม่ครบก็จะได้คะแนน ส.ส.บัญชีรายชื่อจากบัตรใบที่สอง
ดังนั้น หากคิดบัญญัติไตรยางศ์อย่างง่ายๆ จำนวน ส.ส.บัญชีรายชื่อเพื่อไทย ในการเลือกตั้งคราวใหม่ที่จะเกิดขึ้นคือ 32 คน รวมเขตที่เคยได้เดิม อีก 136 เขต กลายเป็นจำนวน ส.ส. 168 คน ทิ้งห่าง พปชร. ที่ได้ เขตรวมบัญชีรายชื่อใหม่ แค่ 121 คน และคงหาข้อกล่าวในการจัดตั้งรัฐบาลก่อนได้ยาก ยกเว้นจะไม่มีมารยาททางการเมือง
งานนี้โทษใครไม่ได้ เพราะ พปชร. เป็นตัวตั้งตัวตีในการแก้รัฐธรรมนูญเป็นบัตรสองใบเอง หากผมเป็นพรรคเพื่อไทย คงต้องบอกว่า ขอบคุณมาก”
ไม่ว่าคำประกาศยึดครอง 132 เขตจากพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจาก ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ไม่ว่าเป้าหมาย 235 แลนด์สไลด์จากพรรคเพื่อไทย
สอดรับกับการประกาศและบังคับใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน
นั่นก็คือ ระบบเลือกตั้งจากที่เคยใช้บัตรใบเดียวกับ 350 เขต 150 บัญชีรายชื่อ ก็เปลี่ยนไปสู่บัตร 2 ใบพร้อมกับ 400 เขตและ 100 บัญชีรายชื่อโดยอัตโนมัติ
ทำให้กระบวนการเลือกตั้งไม่เพียงแต่ใกล้เคียงกับเมื่อเดือน กรกฎาคม 2554 ใกล้เคียงกับเมื่อเดือนธันวาคม 2550 หากแต่ถอด พิมพ์เขียวมาจากเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2544
เท่ากับทำให้ความฝันลึกๆอันมาจากพรรคพลังประชารัฐ พรรค ประชาธิปัตย์ พรรคเพื่อไทย เริ่มใกล้กับความเป็นจริงยิ่งขึ้น
เท่ากับ 3 พรรคการเมืองนี้มีความสุขกับ “ความฝัน” ร่วมกัน
เพียงแต่เมื่อเผชิญกับความเป็นจริงจะทำให้ดำเนินไปในท่วงทำนองแบบ “นอนเตียงเดียวกัน” แต่ “ฝันคนละเรื่อง” หรือไม่
หากเริ่มต้นจากสภาพความเป็นจริงของการเลือกตั้งเมื่อเดือนมีนาคม 2562 มีแต่พรรคเพื่อไทยซึ่งได้รับเลือก 136 และพรรคพลังประชารัฐซึ่งได้รับเลือก 115 เท่านั้นที่อยู่ในฐานะคู่แข่ง
กระนั้น ก็จะมองข้ามรากฐานของพรรคอนาคตใหม่ที่ได้ 80 พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้ 52 พรรคภูมิใจไทยที่ได้ 51 มิได้
แท้จริงแล้วในสนามของการเลือกตั้งครั้งหน้าการต่อสู้อันเข้มข้นจึงอยู่ที่พรรคเพื่อไทย พรรคพลังประชารัฐ พรรคก้าวไกล พรรคภูมิใจไทย พรรคประชาธิปัตย์อย่างเป็นด้านหลัก
แม้ด้านหนึ่งการยุบพรรคอนาคตใหม่อาจทำให้จำนวนของ พรรคพลังประชารัฐ พรรคภูมิใจไทย เพิ่มขึ้น
กระนั้น การเปลี่ยนแปลงที่มีอัตราเร่งก็มิอาจมองข้าม “ก้าวไกล”
คำถามที่เสนอเข้ามาก็คือการเลือกตั้งเมื่อเดือนมีนาคม 2562 อาจมาพร้อมกับความเชื่อต้องการความสงบ จบที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา อันทำให้พรรคพลังประชารัฐคือความหวังหนึ่ง
เป็นความหวังที่มี 250 ส.ว.เป็นฐานอย่างทรงความหมาย
แต่จากเดือนมีนาคม 2562 มีการเปลี่ยนแปลงมากมายที่ทำให้ความขลังของคำขวัญ “ต้องการความสงบ จบที่ ลุงตู่” เสื่อมลง
จึงไม่แน่ว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา จะยังเป็น “ความหวัง”
นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร ส.ส.มหาสารคาม และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย (พท.) แถลงว่า สำหรับการเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้เสนอเรื่องเลือกตั้งผู้ว่าฯกทม. และผู้ว่าฯเมืองพัทยาเข้า ครม. ตั้งแต่วันที่ 7 กันยายน 64 แล้ว รอเพียง ครม.เคาะให้มีการเลือกตั้ง ดังนั้น เชื่อว่าหลังการเลือกตั้ง อบต. วันที่ 28 พฤศจิกายนนี้ และมีการรับรองผลการเลือกตั้งภายใน 30 วันแล้ว จากนั้นประมาณเดือนมกราคม 2565 จะมีการประกาศให้เลือกตั้งผู้ว่าฯกทม. และจะไปเลือกตั้งในช่วงปลายเดือนมีนาคม 2565 ทั้งนี้ เพื่อลดแรงกดดันจากประชาชน และลดกระแสความกดดันของรัฐบาล
นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร ส.ส.มหาสารคาม และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย (พท.) แถลงถึงผลการลงมติร่างรัฐธรรมนูญฉบับภาคประชาชนที่ผ่านมาว่า ก็เป็นไปตามคาดหมายที่ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญนี้จะตกไป เพราะต้องใช้เสียง ส.ว.กว่า 84 เสียง ในขั้นรับหลักการ ดังนั้น ตนอยากเสนอแนะว่าไม่อยากให้ประชาชนกว่า 130,000 คน ที่ลงชื่อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งนี้ยกเลิกความคิดในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ อยากให้ทุกท่านเสนอร่างรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเพิ่มเติมอีกครั้ง โดยครั้งนี้ขอให้ยื่นแก้ไขมาตรา 256 ให้มีการตั้ง ส.ส.ร. ซึ่งตนเชื่อว่าจะสามารถผ่านได้ เพราะสภาเคยมีความเห็นโหวตรับหลักการในการแก้ไขมาตรา 256 มาครั้งหนึ่งแล้ว แต่มี ส.ว.ส่วนหนึ่งยื่นศาลรัฐธรรมนูญตีความทำให้ตกไป
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTips