Home » เจ้าหนี้แชร์ด่วน : เรียกดอกเบี้ยยังไงไม่ผิดกฎหมาย | ดอกเบี้ย ถูก กฎหมาย

เจ้าหนี้แชร์ด่วน : เรียกดอกเบี้ยยังไงไม่ผิดกฎหมาย | ดอกเบี้ย ถูก กฎหมาย

เจ้าหนี้แชร์ด่วน : เรียกดอกเบี้ยยังไงไม่ผิดกฎหมาย


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สอบถามกันเข้ามาเยอะว่า เวลาทำสัญญาเงินกู้ควรจะเรียกดอกเบี้ยอย่างไรดี
และเท่าไหร่ถึงจะไม่ผิดกฎหมาย ติดตามได้ในคลิปเลยจ้า
ปรึกษากฎหมาย โทร : 0924533393
ติดต่อโฆษณา โทร : 0877112224
Facebook ทนายคู่ใจ : https://www.facebook.com/applawyer/
Line ทนายคู่ใจ : @FREELAW
ทนายคู่ใจ ทนาย กฎหมาย เจ้าหนี้ ลูกหนี้ เงินกู้

เจ้าหนี้แชร์ด่วน : เรียกดอกเบี้ยยังไงไม่ผิดกฎหมาย

สินเชื่อไม่เช็คเครดิตบูโร รวบรวมทั้งหมดล่าสุดเดือนพ.ย.2564 อนุมัติไว ได้เงินจริง


สินเชื่อไม่เช็คเครดิตบูโร รวบรวมทั้งหมดล่าสุดเดือนพ.ย.2564 อนุมัติไว ได้เงินจริง
สินเชื่อไม่เช็คเครดิตบูโร กู้เงินถูกกฎหมาย นาโนไฟแนนซ์ เงินกู้สินเชื่อ
กดติดตามช่องเงินกู้สินเชื่อที่นี่ค่ะ https://www.youtube.com/channel/UCYvZXavniMrlaMzIhkxtg?sub_confirmation=1
\”สินเชื่อไม่เช็คบูโร\” กู้เงินด่วน โอนเงินเข้าบัญชี รับเงินสด อนุมัติไว ได้เงินจริง แหล่งกู้เงินถูกกฎหมาย ช่วยบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายในช่วงที่เศรษฐกิจไม่ดี มีสินเชื่อ หรือแอปกู้เงิน nonbank อะไรบ้างไปดูกัน
SOURCE : trueid

สินเชื่อไม่เช็คเครดิตบูโร รวบรวมทั้งหมดล่าสุดเดือนพ.ย.2564 อนุมัติไว ได้เงินจริง

สอนวิธียืมเงินออนไลน์ถูกกฎหมาย สมัครง่าย รู้ผลเร็ว | มันนี่ฮับ Money Hub


โหลดมันนี่ฮับ ผ่าน Google Play สำหรับมือถือระบบ Android
https://play.google.com/store/apps/details?id=com.jaideeamplify
โหลดมันนี่ฮับ ผ่าน App Store สำหรับมือถือระบบ iOS
https://apps.apple.com/th/app/%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%AE%E0%B8%9A/id1577942321

จุดเด่นสินเชื่อ มันนี่ฮับ Money Hub
1. สินเชื่อเพื่อ อุปโภค บริโภค Money Hub
2.จุดเด่นสินเชื่อ
วงเงินกู้สูงสุด 50,000 บาท
ดอกเบี้ยเพียง 2.08% ต่อเดือน (ยกเงินกู้นอกระบบมาเปรียบเทียบ)
ผ่อนสูงสุด 12 เดือน
ไม่ต้องมีหลักทรัพย์ หรือ ผู้ค้ำประกัน
ยื่นกู้ออนไลน์ ได้ทุกที่ ทุกเวลา รู้ผลไวภายใน 5 นาที ผ่าน App

3.คุณสมบัติผู้กู้
สัญชาติไทย อายุ 2058 ปี
พนักงานมีรายได้ประจำ ตั้งแต่ 7,000 บาทขึ้นไป
เจ้าของกิจการมีรายได้ประจำ ตั้งแต่ 15,000 บาทขึ้นไป
ต้องการเงินทุนเพื่อนำไปใช้เป็นเงินสำรองในการ อุปโภค บริโภค ในชีวิตประจำวัน

4.ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม
ดอกเบี้ย 2.08% ต่อเดือน หรือ 25% ต่อปี
คิดดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก (ปิดได้ โปะได้)
ไม่มีค่าธรรมเนียมการใช้วงเงินสินเชื่อ
ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมอาการแสตมป์

Money Hub
มันนี้ฮับเกิดขึ้นจากการร่วมมือกันระหว่าง บริษัท ไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และ ธนาคารที่เป็น Partner ร่วมกันให้บริการสินเชื่อรูปแบบใหม่ขึ้นมาครับ
เพื่อที่จะช่วยตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าที่ต้องการเงินก้อน และที่สำคัญครับ มันนี่ฮับยังเป็นเจ้าแรกๆที่ใช้ระบบ AI มาช่วยในการพิจารณาสินเชื่อ ทำให้ process การขอทำได้สะดวกสบายทำได้ครบจบในมือถือเครื่องเดียว
ดังนั้นการยืมเงินหรือการทำธุรกรรมต่างๆบน App Money Hub ให้เราสบายใจหายห่วงนะครับ เป็นการกู้ยืมเงินที่ถูกกฎหมาย มีกฎหมายคุ้มครองผู้กู้อย่างเราปลอดภัยหายห่วงครับ

บริการสินเชื่อของ Money Hub
สินเชื่อเพื่ออุปโภค บริโภค
สินเชื่อเพื่อการท่องเที่ยว
สินเชื่อเพื่อการประกอบอาชีพ

มันนี่ฮับ moneyhub ยืมเงินออนไลน์ กู้เงินออนไลน์

สอนวิธียืมเงินออนไลน์ถูกกฎหมาย สมัครง่าย รู้ผลเร็ว | มันนี่ฮับ Money Hub

EP145: ดอกเบี้ยปรกติ 3% ดอกเบี้ยผิดนัด 5% ตามกฎหมายแก้ใหม่ คืออะไร?


การแก้กฎหมายเรื่องดอกเบี้ยตามกฎหมายแพ่ง มาตรา 7,224 แค่ไม่ได้แก้ไข มาตรา 654 การคิดดอกเบี้ยปรกติ 3% และ ดอกเบี้ยผิดนัดเป็น5% รวมถึงการคิดดอกเบี้ยผิดนัเให้คิดเฉพาะต้นเงินที่เกิดขึ้นในแต่ละงวด มีวิธีคิดกันอย่างไร ?

EP145: ดอกเบี้ยปรกติ 3% ดอกเบี้ยผิดนัด 5% ตามกฎหมายแก้ใหม่ คืออะไร?

ฎีกา Intrend ep.8 เจ้าหนี้คิดดอกเบี้ยเกินอัตราเป็นโมฆะ


ฎีกา Intrend ep. 8 เจ้าหนี้คิดดอกเบี้ยเกินอัตราเป็นโมฆะ
นายสรวิศ ลิมปรังษี
The Host : กองสารนิเทศและประชาสัมพันธ์ สำนักงานศาลยุติธรรม
Guest Host : สรวิศ ลิมปรังษี
ที่ปรึกษา : สรวิศ ลิมปรังษี, สุริยัณห์ หงษ์วิไล, จีรวรรณ เจริญยศ
Show Creator : นันทวัลย์ นุชนนทรี, ศณิฏา จารุภุมมิก
Episode Producer \u0026 Editor : ศณิฏา จารุภุมมิก, ปนัสยา ชื่นอุระ
Sound Designer \u0026 Engineer : กฤตภาส ทองแจ้ง, กิติชัย โล่สุวรรณ
Coordinator \u0026 Admin : สุภาวัชร์ ดลมินทร์, โสรัตน์ ไวศยดำรง
ดอกไม้อาจต้องใช้ปุ๋ยและรดน้ำพรวนดินจึงจะออกมาให้เห็น แต่เมื่อเป็น “ดอกเบี้ย” แล้วงอกงามผลิดอกออกผลได้ทุกฤดูกาล โดยไม่ต้องใส่ปุ๋ยหรือรดน้ำใด ๆ อีก แต่การคิดดอกเบี้ยก็คงต้องมีกรอบและขอบเขตด้วย หากคิดกันแบบมหาโหดเกินกว่าที่กฎหมายกำหนดแล้วย่อมจะทำให้เกิดปัญหาขึ้นได้ว่าการตกลงกันแบบนั้นจะมีผลมากน้อยเพียงใด และปัญหาที่สำคัญที่เราจะมาคุยกันคือแล้วหากลูกหนี้เกิดชำระหนี้ไปตามยอดหรืออัตราดอกเบี้ยที่เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้แล้วจะมีผลอย่างไร ลูกหนี้จะเรียกเงินที่ชำระไปนั้นคืนได้หรือไม่ หรือเจ้าหนี้จะต้องทำอย่างไรกับเงินที่ลูกหนี้ชำระเป็นค่าดอกเบี้ยที่เกินอัตรามานั้น
ก่อนที่เราจะลงไปในรายละเอียด คงต้องทำความเข้าใจกันเบื้องต้นก่อนว่าที่บอกว่าคิดดอกเบี้ยเกินอัตรานั้นต้องดูเป็นรายกรณีไปด้วยว่าคนที่เขาให้กู้ยืมเงินมานั้นเป็นใคร เพราะอัตราดอกเบี้ยที่เจ้าหนี้จะคิดได้ขึ้นอยู่กับว่าเจ้าหนี้นั้นเป็นเจ้าหนี้ประเภทใด เพราะหากเป็นกรณีของสถาบันการเงินแล้วจะมีกฎหมายกำหนดไว้โดยเฉพาะที่ทำให้คิดดอกเบี้ยได้มากกว่าคนธรรมดาให้กู้ และขึ้นอยู่กับประเภทของเงินกู้แต่ละชนิดด้วย แต่กรณีที่กำลังจะกล่าวถึงต่อไปนี้เป็นเรื่องที่บุคคลธรรมดาให้กู้ยืมเงินกัน
เรื่องราวในตอนนี้สมมติอีกเช่นเคยว่านางยิ้มไปกู้ยืมเงินจากนายแย้มเป็นเงิน 200,000 บาท นายแย้มคิดดอกเบี้ยจากนางยิ้มในอัตราร้อยละ 10 ต่อเดือน ต่อมานางยิ้มไม่จ่ายเงินคืนให้นายแย้มตามที่ตกลงกัน นายแย้มจึงมาฟ้องเรียกร้องให้นางยิ้มชำระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยแก่ตน ก่อนหน้าที่นายแย้มจะมาฟ้องคดี นางยิ้มได้เคยชำระเงินคืนให้แก่นายแย้มไปบ้างแล้วแต่เนื่องจากดอกเบี้ยอัตราสูงมาก เงินที่นางยิ้มจ่ายไปร่วม 100,000 บาทจึงถูกนายแย้มนำไปหักชำระเป็นดอกเบี้ยเท่านั้น
กรณีที่บุคคลธรรมดาให้กู้ยืมเงินกันนี้ กฎหมายกำหนดให้คิดดอกเบี้ยได้ไม่เกินอัตราร้อยละ 15 ต่อปีเท่านั้น การคิดดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนดความจริงมีโทษทางอาญาอยู่ด้วย กฎหมายปัจจุบันคือ พรบ. ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2560 ซึ่งมีโทษจำคุกได้ถึง 2 ปี หรือปรับ 200,000 บาท แต่ผลของการที่กำหนดโทษทางอาญาไว้ดังกล่าว ทำให้ถือว่ากฎหมายที่กำหนดอัตราดอกเบี้ยไว้เป็นเรื่องสำคัญ การที่เจ้าหนี้ไปคิดดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนดไว้จึงเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายในเรื่องที่สำคัญเช่นกัน ข้อตกลงที่ให้คิดดอกเบี้ยเกินอัตราที่กำหนดไว้จึงถือว่าเป็นข้อตกลงที่เป็น “โมฆะ” ซึ่งทำความเข้าใจได้ง่าย ๆ ว่าแม้จะตกลงกำหนดไว้ แต่ในทางกฎหมายแล้วถือเสมือนว่าข้อตกลงนั้นไม่เคยเกิดมีขึ้นมาเลย คือไม่มีผลบังคับทางกฎหมายใด ๆ นั่นเอง
ด้วยเหตุนี้ ข้อตกลงที่นายแย้มคิดดอกเบี้ยจากนางยิ้มในอัตราร้อยละ 10 ต่อเดือนจึงเห็นได้ชัดว่าเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนดไว้แน่ ๆ ผลคือข้อตกลงนี้ย่อมเป็น “โมฆะ” ไปดังที่กล่าวถึง ทำให้นายแย้มไม่มีสิทธิคิดดอกเบี้ยเงินกู้จากนางยิ้มได้ยกเว้นแต่เป็นดอกเบี้ยผิดนัดที่เป็นอีกกรณีหนึ่ง หากนายแย้มมาฟ้องเรียกร้องให้ชำระดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 10 ต่อเดือนก็ย่อมไม่สามารถทำได้ แต่ปัญหาสำคัญของเรื่องนี้คือแล้วเงินที่นางยิ้มชำระไปแล้ว 100,000 บาท ซึ่งนายแย้มเอาไปหักดอกเบี้ยจะทำอย่างไร การชำระดังกล่าวจะมีผลเพียงใด
สำหรับเงินจำนวนนี้ นางยิ้มอาจจะไม่สามารถเรียกร้องคืนเอาจากนายแย้มได้ เพราะตามปกติของการชำระเงินให้ใครไปโดยที่เป็นหนี้ที่ฝ่าฝืนข้อห้ามตามกฎหมายก็จะไม่สามารถเรียกร้องคืนมาได้ แต่เมื่อได้กล่าวไปแล้วว่านายแย้มเองก็ไม่มีสิทธิได้รับชำระดอกเบี้ยที่ตนเองคิดเกินอัตราที่กฎหมายกำหนดไปด้วย แต่ที่ผ่านมานายแย้มรับชำระเงินจากนางยิ้มแล้วเอาไปหักชำระดอกเบี้ยที่ฝ่าฝืนกฎหมายนั้นมาโดยตลอด ที่ควรจะเป็นคือนายแย้มต้องเอาเงิน 100,000 บาท ที่นางยิ้มชำระมาไปหักชำระต้นเงินกู้ที่ค้างอยู่แทน เหลือยอดต้นเงินกู้เท่าใดจึงจะเป็นยอดที่นายแย้มมีสิทธิฟ้องเรียกคืนจากนางยิ้มได้
แต่ทั้งนี้ก็ไม่ได้หมายความว่านางยิ้มเองจะหลุดพ้นไม่ต้องชำระดอกเบี้ยใด ๆ ให้แก่นายแย้ม เพราะหากสมมติว่าสัญญากู้ดังกล่าวกำหนดให้นางยิ้มต้องคืนเงินทั้งหมดภายในวันที่ 31 ธันวาคม ของปีที่ผ่านมา เมื่อครบกำหนดแล้วไม่ชำระ นางยิ้มจะกลายเป็นลูกหนี้ที่ “ผิดนัด” ชำระหนี้ นายแย้มในฐานะเจ้าหนี้จึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยผิดนัดได้ แต่จะเป็นอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี และไม่ได้คิดตั้งแต่วันที่ให้กู้ยืมไปเหมือนดอกเบี้ยเงินกู้ปกติ แต่ต้องคิดตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดชำระหนี้ตามสัญญาซึ่งก็คือวันที่ 31 ธันวาคม เป็นต้นไป
การคิดดอกเบี้ยเป็นเรื่องปกติของการกู้หนี้ยืมสินเพราะเงินย่อมมีค่าหากไม่ให้กู้ยืมไปเจ้าหนี้อาจไปหาผลประโยชน์ทางอื่นให้งอกงามได้เช่นกัน เมื่อลูกหนี้ต้องการกู้ยืมจึงจำเป็นต้องให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่เจ้าหนี้ด้วยเช่นกัน แต่ผลประโยชน์ที่เจ้าหนี้จะเรียกก็ต้องพอเหมาะพอสมด้วย ไม่ใช่เห็นคนเดือดร้อนต้องการใช้เงินมาก็ถือโอกาสขูดรีดเอาจากความเดือดร้อนของคนที่เป็นลูกหนี้จนไม่ต้องโงหัวกันหากต้องใช้ดอกเบี้ยในอัตราที่สูงลิบลิ่ว หากมีการคิดดอกเบี้ยกันแบบนั้น ข้อตกลงที่คิดดอกเบี้นเกินที่กฎหมายกำหนดจะตกเป็นโมฆะไป หากลูกหนี้ชำระดอกเบี้ยอัตราที่ฝ่าฝืนกฎหมายไปเท่าใด แม้ลูกหนี้จะเรียกเงินนั้นคืนไม่ได้ แต่เจ้าหนี้ก็ต้องเอาไปหักชำระเงินต้นให้แก่ลูกหนี้ด้วยจึงจะเป็นธรรม (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5056/2562)

ฎีกา  Intrend ep.8 เจ้าหนี้คิดดอกเบี้ยเกินอัตราเป็นโมฆะ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *