Home » หมู่บ้านลึกลับในลาวตอนที่1:ถ้ำเหิบประตูสู่\”กะตึบบ้านนา\”เมืองลับแลในลาวที่ตัดขาดจากโลกภายนอก | พญานาค ฝั่ง ลาว

หมู่บ้านลึกลับในลาวตอนที่1:ถ้ำเหิบประตูสู่\”กะตึบบ้านนา\”เมืองลับแลในลาวที่ตัดขาดจากโลกภายนอก | พญานาค ฝั่ง ลาว

หมู่บ้านลึกลับในลาวตอนที่1:ถ้ำเหิบประตูสู่\”กะตึบบ้านนา\”เมืองลับแลในลาวที่ตัดขาดจากโลกภายนอก


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ติดต่องานหรือดูเรื่องราวเพิ่มเติมได้ในเฟสบุ๊คแฟนเพจตามลิงค์นี้เลยครับ https://m.facebook.com/Laos.View/?ref=bookmarks
ทีมงานวิถีชนบทจะพาคุณไปเยือนหมู่บ้านที่ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในหมู่บ้านที่ลึกลับที่สุดในลาวชื่อว่ากะตึบบ้านนา เมืองคูนคำ แขวงคำม่วน เป็นหมู่บ้านที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานหลายร้อยปีเคยเป็นเมืองเก่าชื่อเมืองอาลันรัจนาปกครองโดยเจ้าเมืองวุ้น,หมู่บ้านนี้ข่อนข้างจะตัดขาดจากโลกภายนอก ไม่มีไฟฟ้าไม่มีถนนต้องเดินลอดถ้ำไปเท่านั้นถึงจะเจอ ในระหว่างการเดินทางเราได้แวะชมหมู่บ้านเก่าแก่และถ่ายวิดีโอไว้เพื่อให้ดูวิถีชีวิตของคนลาวในชนบทว่าเค้าใช้ชีวิตกันอย่างไร เพื่อเป็นข้อมูลให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป
ที่ตั้งของหมู่บ้าน:อยู่เขตเมืองคูนคำแขวงคำม่วน ตรงกันข้ามกับจังหวัดนครพนมของไทย ข้ามด่านนครพนมมาจะเป็นเมืองท่าแขก ขับรถจากเมืองท่าแขกขึ้นไปทางทิศเหนือประมาณ93กิโลก็จะถึงบ้านเวียงทองถึงตรงนี้สังเกตุดูด้านขวามือจะมีทางดินแดงเราเลี้ยวขวาเข้าไป(ถึงตรงนี้ถามชาวบ้านแถวนั้นเค้าจะรู้หมดครับ) ตรงทางเข้าจะมีป้ายเขียนว่าบ้านกะแตบ ขับตรงเข้าไปเลยจะไปสุดอยู่ที่บ้านนาครกถึงตรงนี้ต้องนั่งเรือและเดินเท้าลอดถ้ำเข้าไปต่อครับ รายละเอียดเพิ่มเติมดูในเพจได้ครับ ชื่อเดียวกันกับช่องยูทูปครับ
ຖ່າຍພາບ:ຕ້ອຍ+Keopanya
ຕັດຕ່ໍ:ຕ້ອຍ
ขอบคุณเสียงพิณจากช่องของคุณ ธำรงค์ ยางพฤกษ์
ກະຕຶບບ້ານນາຖ້ຳເຫີບເມືອງລັບແລ
หมู่บ้านลึกลับในลาวชนบทในลาวเดินลอดถ้ำบ้านลับแลในลาวกะตึบบ้านนาถ้ำเหิบ

หมู่บ้านลึกลับในลาวตอนที่1:ถ้ำเหิบประตูสู่\

บั้งไฟพญานาค ถ่ายจากฝั่งลาว


คลิปต้นกำเนิดของบั้งไฟพญานาค คือ การยิงกระสุนส่องวิถีจากฝั่งลาว คลิปนี้ถ่ายจากฝั่งลาวเองเมื่อวันออกพรรษาปี 2555 สังเกตกระสุนส่องวิถียิงข้ามหัวคนถ่ายไป หลังจากนั้นซักครู่แล้วมีเสียงเฮจากฝั่งไทย

จาก http://www.youtube.com/watch?v=lGhvF7X_4GM ກຳເນີດບັ້ງໄຟພະຍານາກ
โดยคุณ Thanavorakit Kounthawatphinyo
Published on Oct 30, 2012 (เจ้าของคลิปเขียนเป็นภาษาลาว แปลไทยได้ว่า…)
ก่อนอื่น ข้าพเจ้าต้องขออภัยหากการกระทำนี้ได้ไปทำให้ความเเชื่อหรือธุรกิจของผู้ใดขัดข้อง
พวกเราไม่ได้มีเจตนามาเพื่อทำลายความเชื่อ หรือทำลายธุรกิจ หรือกิจการใดๆ ของผู้ใด
เราเพียงต้องการพิสูจน์ว่ามีการระทำที่ทำให้เกิดสิ่งที่เชื่อว่าเป็น \”บั้งไฟพญานาค\” จากฝั่งลาวหรือไม่
และตอนนี้พวกเราก็รู้ความจริงแล้ว
ถึงอย่างไรก็ตาม สำหรับข้าพเจ้าโดยส่วนตัวแล้ว ก็ยังเห็นว่าอาจมีบังไฟพญานาค
ที่มิได้ออกมาจากปลายกระบอกปืนอยู่ ซึ่งจะสามารถพิสูจน์ได้เมื่อใด หรือวิธีการใดนั้นก็ยังคงต้องรอกันต่อไป
สุดท้ายนี้ ขอให้ทุกคนพิจารณาให้ดีก่อนเชื่อ บางครั้งสิ่งที่เราเห็นเราอาจเห็นแต่ไม่ใช่ของจริง
และขออภัยอีกครั้ง หากการกระทำนี้ได้ล่วงเกินบุคคลหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

บั้งไฟพญานาค ถ่ายจากฝั่งลาว

ภายในถ้ำจัง ตำนานพญานาคผู้คุ้มครองเมืองวังเวียง ประเทศลาว


ภายในถ้ำจัง ตำนานพญานาคผู้คุ้มครองเมืองวังเวียง ประเทศลาว

รู้จักวังนาคินทร์ของพญาศรีสัตตนาคราช!!!! ณ พระธาตุหลวง เวียงจันทน์ ศักดิ์สิทธิ์ไม่แพ้คำชะโนด


รู้จัก วังนาคินทร์ของพญาศรีสัตตนาคราช ณ พระธาตุหลวง เวียงจันทน์ ศักดิ์สิทธิ์ไม่แพ้คำชะโนด
เราคนไทยรู้จักป่าคำชะโนด ซึ่งเป็นวังนาคินทร์ ของพญาศรีสุทโธนาคราช เป็นอย่างดี แต่พญานาคราชนั้นไม่ได้มีองค์เดียว และ วังบาดาล หรือ วังนาคินทร์ ก็ไม่ได้มีแห่งเดียวเช่นกัน
ผมอยากนำทุกท่านได้รู้จักกับ วังพญานาคราช หรือ วังนาคินทร์ของ พญาศรีสัตนาคราช ซึ่งเป็น 1 ใน 9 นาคาธิบดี หรือ 9 กษัตริย์พญานาค
พญาศรีสัตนาคราช เป็นพญานาคที่มี 7 เศียร เป็นจอมนาคราช หรือ นาคาธิบดีในลำดับที่ 5 ต่อจากพญาศรีสุทโธนาคราช เป็นนาคราชที่ปกครองดูแลฝั่งแม่น้ำโขงฝั่งลาว
พญาศรีสัตนาคราช เป็นสหายรักกับพญาศรีสุทโธนาคราช
และทั้งสององค์ยังศรัทธาในพระพุทธศาสนาเช่นกัน อีกทั้ง ยังเป็นพญานาคในตระกูลเอราปัตถะเหมือนกัน นอกจากนี้ วังนาคินทร์ของทั้งสอง มีการเชื่อมถึงกัน ซึ่งเป็นเครื่องบอกว่า ทั้งสองไปมาหาสู่กันเสมอ ไม่ต่างจากคนไทยและคนลาว มีความสัมพันธ์ดุจพี่น้อง รักใคร่กันเป็นอย่างดีและวังนาคินทร์ของ พญาศรีสัตนาคราช อยู่ใต้บริเวณพระธาตุหลวง ในกลางกรุงเวียงจันทน์ สปป ลาว โดยมีบ่อน้ำทิพย์ซึ่งเป็นบ่ออยู่บริเวณพระธาตุหลวง ซึ่งใต้ก้นบ่อจะเป็นทางเชื่อมลงสู่วังบาดาลของ พญาศรีสัตนาคราช ในเมืองไทย พญาศรีสัตนาคราช อาจจะยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก ยกเว้นที่ จ.นครพนม ที่มีการบูชา พญาศรีสัตนาคราช อย่างชัดเจนที่สุด เพราะพญานาคราช จะแบ่งเขตการปกครองกันอย่างชัดเจนและไม่ก้าวก่ายกัน ถ้าในเมืองไทย แถบภาคอีสาน ลุ่มแม่น้ำโขงทั้งหมด จะเป็นพญาศรีสุทโธนาคราช ถ้าเป็นฝั่งลาวจะเป็น พญาศรีสัตตนาคราชปกครองดูแล
พญาศรีสัตตนาคราช เป็นที่รู้จักของชาวลาวเป็นอย่างดี ผู้คนชาวลาวต่างหลั่งไหลมาสักการะศาลขององค์ท่าน ณ พระธาตุหลวงอยู่เสมอ
ที่สำคัญ ณ บ่อน้ำทิพย์ น้ำในบ่อเป็นน้ำจากวังบาดาล เชื่อว่า ผู้ใดได้นำน้ำทิพย์นี้มาสักการะบูชาหรือ ประพรมตามร่างกาย จะช่วยเพิ่มพูนพลังกายทิพย์ให้สูงขึ้น อันจะนำมาซึ่งความเป็นสิริมงคล ทำการใดมักจะสำเร็จโดยง่ายหากใครได้มีโอกาสมาสักการะ พญาศรีสัตนาคราช ณ บริเวณศาลของท่านที่อยู่ในบริเวณพระธาตุหลวง จะสัมผัสถึงกระแสพลังทิพย์ พลังบารมีที่แรงกล้าอย่างมาก เพราะองค์ท่านมักจะมาต้อนรับผู้คนที่มาสักการะท่านด้วยตัวเองนั่นเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเป็นนาคาธิบดีที่ไม่ถือตัวและเป็นมิตรกับมนุษย์อย่างยิ่ง

รู้จักวังนาคินทร์ของพญาศรีสัตตนาคราช!!!! ณ พระธาตุหลวง เวียงจันทน์ ศักดิ์สิทธิ์ไม่แพ้คำชะโนด

5อันดับคลิป ที่ผู้คนเชื่อว่าถ่ายติดพญานาคตัวเป็นๆ


1.https://www.youtube.com/watch?v=gNzBA_b0do0
2.https://www.youtube.com/watch?v=owt7gb2HaC0
3.https://www.youtube.com/watch?v=VCkLqLOYv1I
4.https://www.youtube.com/watch?v=sO4SlVMVi6w
5.https://www.youtube.com/watch?v=sK0pY7rF5KY
ใครมีคำติชมยังไง คอมเม้นไว้ใต้คลิปเลย หรือใครมีเรื่องหลอนๆอยากแบ่งปันประสบการณ์ ก็สามารถ Inbox มาในเพจ หรือจะ เขียนเรื่องราว หรืออัดคลิปมาเล่าในเพจเลยก็ได้ หรือใครที่รู้จักกับผม มาเล่าให้ฟังเลยก็ได้นะครับ ยังมีเรื่องราว หลอนๆอีกเพียบ\r
หากรับชมคลิปแล้วชื่นชอบ อย่าลืมกด like กด ติดตาม กดกระดิ่งแจ้งเตือน เพื่อรับชมคลิปก่อนใครได้เลยจ้า ว่างๆ เข้าไปคุยกันในเพจได้ครับ\r
Facebook fanpage : https://www.facebook.com/Kaewrobloag/\r
ส่งเรื่องเล่าได้ที่ http://m.me/kaewrobloag\r
ติดต่องาน Line @eyethestar\r
เฟสบุ้คส่วนตัว http://fb.me/ChalitphongThipwichai\r
email [email protected]

5อันดับคลิป ที่ผู้คนเชื่อว่าถ่ายติดพญานาคตัวเป็นๆ

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *