Home » สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย? | ประกันสังคม มาตรา 33 อายุ

สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย? | ประกันสังคม มาตรา 33 อายุ

สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย?


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

การประกันสังคม มาตรา 33 มีหลายคนสงสัยว่า มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงานในกรณีนี้ ประกันสังคม จ่ายยังไง ผู้ประกันตนหลายคน มีข้อสงสัยเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์กรณีต่าง ๆ ที่จะได้รับจากกองทุนประกันสังคมเป็นจำนวนมาก หนึ่งในนั้นคือ ผู้ประกันตนมาตรา 33 คืออะไร?
ผู้ประกันตนมาตรา 33 คือ ลูกจ้างผู้ทำงานให้กับนายจ้างที่อยู่ในสถานประกอบการ หรือพนักงานเอกชนผู้ประกันตนมาตรา 33 จะได้รับความคุ้มครอง 7 กรณี ดังนี้
1. กรณีเจ็บป่วย 1.1. กรณีเจ็บป่วยปกติเมื่อเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิ หรือเครือข่ายของสถานพยาบาลนั้น ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆหากหมดสิทธิได้รับค่าจ้างจากนายจ้างในวันลาป่วยตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานแล้ว จะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 50% ของคึ่าจ้างจริง สูงสุดแต่ไม่เกิน 15,000 บาท ไม่เกิน 90 วันต่อครั้ง และไม่เกิน 180 วันต่อปีเว้นแต่ ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ ไม่เกิน 365 วัน (กรณีป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เมื่อเสียชีวิตจะได้รับค่าทำศพ และเงินสงเคราะห์กรณีตายเช่นเดียวกับกรณีตาย)
1.2. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินถ้าเข้ารับรักษากับสถานพยาบาลที่ไม่ใช่สถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิหรือเครือข่าย จะได้รับค่าบริการทางการแพทย์อย่างไร? กรณีผู้ประกันตนได้สำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน สามารถเบิกคืนจากสำนักงานประกันสังคมในอัตราที่กำหนด ดังนี้ เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ ไม่ว่าจะประสบอันตราหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน ขอรับค่าบริการทางการแพทย์ได้โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง ตามรายละเอียดดังนี้ผู้ป่วยนอก เบิกค่ารักษาพยาบาลได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นผู้ป่วยใน เบิกค่ารักษาพยาบาลได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นภายในระยะเวลาไม่เกิน 72 ชั่วโมงยกเว้น ค่าห้องและค่าอาหารเบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาท เข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชน ทั้งประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน สามารถเบิกได้ดังนี้ผู้ป่วยนอก เบิกค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,000 บาท เบิกค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงเกิน 1,000 บาทได้ ถ้ามีการตรวจรักษาตามรายการในประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ดังนี้ การให้เลือดหรือส่วนประกอบของเลือด การฉีดสารต่อต้านพิษจากเชื้อบาดทะยัก การฉีดวัคซีนหรือเซรุ่มป้องกันโรคพิษสุนักบ้า (เฉพาะเข็มแรก) การตรวจอัลตร้าซาวด์กรณีที่มีภาวะฉุกเฉินเฉียบพลันในช่องท้อง การตรวจด้วย CTSCAN หรือ MRI จ่ายตามเงื่อนไขที่กำหนด การขูดมดลูกกรณีตกเลือดหลังคลอด หรือตกเลือดจากการแท้งบุตร ค่าฟื้นคืนชีพ และกรณีที่มีการสังเกตอาการในห้องสังเกตอาการตั้งแต่ 3 ชั่วโมงขึ้นไปผู้ป่วยใน ค่ารักษาพยาบาล กรณีที่ไม่ได้รักษาในห้อง ICU เบิกได้ไม่เกินวันละ 2,000 บาท ค่าห้องและค่าอาหารเบิกได้ไม่เกินวันละ 700 บาท ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่ารักษาพยาบาล กรณีที่รักษาในห้อง ICU เบิกได้ไม่เกินวันละ 4,500 บาท กรณีที่มีความจำเป็นต้องผ่าตัดใหญ่เบิกได้ไม่เกินครั้งละ 8,00016,000 บาท ตามระยะเวลาการผ่าตัด ค่าฟื้นคืนชีพรวมค่ายา และอุปกรณ์เบิกได้ไม่เกิน 4,000 บาท ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ และหรือเอกซเรย์ เบิกได้ไม่เกินรายละ 1,000 บาท กรณีมีความจำเป็นต้องตรวจวินิจฉัยพิเศษ ได้แก่ การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง, การตรวจคลื่นสมอง และการตรวจอัลตร้าซาวด์ตามประกาศ การสวนเส้นเลือดหัวใจและเอกซเรย์, การส่องกล้อง, การตรวจด้วยการฉีดสี, การตรวจด้วย CTSCAN หรือ MRI ตามประกาศ

1.3. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต กรณีผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต สามารถเข้ารับบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลเอกชนที่ใกล้เคียงได้ทุกแห่ง โดยไม่ต้องสำรองค่าใช้จ่าย สำนักงานประกันสังคมจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการรักษาผู้ประกันตนจนพ้นภาวะวิกฤตให้แก่สถานพยาบาลที่รักษาภายในระยะเวลา 72 ชั่วโมง โดยนับรวมวันหยุดราชการ และกรณีที่ผู้ประกันตนได้รับบริการทางการแพทย์จนพ้นภาวะวิกฤตแล้ว จะส่งตัวไปเข้ารับการรักษาต่อ ณ สถานพยาบาลที่สำนักงานกำหนดสิทธิ ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์การบำบัดโรคกรณีสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะบางส่วนได้ตามความจำเป็นตามหลักเกณฑ์ และอัตราที่ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฯ กำหนด

 1.4. กรณีทันตกรรม จะได้รับสิทธิอะไรบ้าง?กรณีถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และผ่าตัดฟันคุด ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็นในอัตราไม่เกิน 900 บาทต่อปี ในกรณีที่ผู้ประกันตนเข้ารับบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลที่ทำความตกลงกับสำนักงานให้ผู้ประกันตนจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ให้กับสถานพยาบาล เฉพาะส่วนเกินจากสิทธิที่ได้รับกรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน ได้รับค่าบริการทางการแพทย์ และค่าฟันเทียมเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นในอัตราไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ใส่ฟันเทียม ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้1) 15 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 1,300 บาท2) มากกว่า 5 ซี่ เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 1,500 บาทกรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปาก ได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ใส่ฟันเทียม ตามหลักเกณฑ์ดังนี้1) ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนหรือล่าง เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 2,400 บาท2) ฟันเทียมชนิดถอดได้ทั้งปากบนหรือล่าง เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท2. กรณีคลอดบุตรได้สิทธิได้รับค่าคลอดบุตรโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง ดังนี้

อ่านต่อในคอมเม้นท์นะครับ

มาตรา33ประกันสังคม ประกันสังคมมาตรา33 สิทธิประโยชน์ประกันสังคม

สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย?

ขั้นตอนการยื่นรับเงินชราภาพผ่านเว็บไซต์ประกันสังคมไม่ต้องไปสำนักงานประกันสังคม | ไอทีดีมีคำตอบ


คลิปนี้จะมาแนะนำขั้นตอนการยื่นรับเงินกรณีชราภาพ เมื่ออายุครบ 55 ปี และสิ้นสุดการเป็นลูกจ้างนะคะ
สนใจศึกษาข้อมูลประกันสังคมน่ารู้กับ SSO eservice \u0026 SSO Connect จะแนบลิงค์ไว้ให้นะคะ
SSO Connect แอพประกันสังคม กับ การติดตั้ง ลงทะเบียน และการใช้งาน
https://youtu.be/yVBTEMHfp30
การลงทะเบียนว่างงาน
https://youtu.be/JLNK82fRKNQ
การยื่นรับเงินชราภาพ
https://youtu.be/hJzSMDxylVM
คำนวณบำนาญชราภาพสำหรับผู้ประกันตนมาตรา 33,39 ด้วยสูตร excel ง่าย ๆ พร้อมให้โหลดไปใช้ฟรี ๆ
https://youtu.be/HPKQ6avisGU
การคำนวณฐานเงินเดือนย้อนหลัง 60 เดือน และอายุงานที่ส่งเงินประกันสังคม
https://youtu.be/AXfOIXXZ0k
เมื่อต้องออกจากงานตอนอายุ50จะส่งต่อมาตรา39หรือหยุดส่งเงินสมทบ
https://youtu.be/unzgyNkwVlY
ขั้นตอนการเปลี่ยนสถานพยาบาลสำหรับผู้ประกันตน
https://youtu.be/vUNHVd7NR2s
ขั้นตอนการขอใบเสร็จประกันสังคมสำหรับผู้ประกันตนมาตรา 39
https://youtu.be/iAcSGmLnlw
7 สิทธิประโยชน์ที่ผู้ประกันตนควรรู้และเมื่อไหร่ถึงใช้สิทธิได้
https://youtu.be/EgjntMyFZtM
ประกันสังคมเพิ่มสิทธิประโยชน์ จาก 40,000 บาทเป็น 50,000 บาท
https://youtu.be/lShQvwJeniI
สามารถติดตามข้อมูลดีๆได้ที่นี่ เพียงกด ติดตาม! อย่าลืมแชร์ให้เพื่อนๆได้ลองทำกันนะคะ พูดคุยกันได้ที่เพจ ไอทีดีมีคำตอบ It elearning 24hr นะคะ https://www.facebook.com/pg/ITDmeekamtob
การยื่นชราภาพผ่านออนไลน์ การยื่นชราภาพ การเบิกชราภาพ

ขั้นตอนการยื่นรับเงินชราภาพผ่านเว็บไซต์ประกันสังคมไม่ต้องไปสำนักงานประกันสังคม | ไอทีดีมีคำตอบ

ผู้ประกันตนควรรู้ ลาออกจากงานมาตรา33 ควรต่อประกันสังคมมาตรา39ดีหรือไม่?


ต่อประกันสังคมมาตรา39 ลาออกจากงาน ข้อดีไม่มีมาตรา33มาตรา39

ผู้ประกันตนควรรู้ ลาออกจากงานมาตรา33 ควรต่อประกันสังคมมาตรา39ดีหรือไม่?

สิทธิประกันสังคมที่ผู้ประกันตนต้องรู้ : รู้เท่ารู้ทัน (18 เม.ย. 62)


ประกันสังคม คือ การสร้างหลักประกันให้กับชีวิตในกลุ่มของสมาชิกที่มีรายได้ และมีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม โดยจุดประสงค์ของการทำประกันสังคม เพื่อให้ผู้ประกันตนมีหลักประกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ชีวิตประจำวัน โดยที่บางคนไม่รู้ด้วยซ้ำว่าจ่ายค่าประกันตนไป สิทธิที่ตัวเองจะได้รับมีอะไรบ้าง มาทำความรู้จักกับประเภทของผู้ประกันตน และสิทธิที่ผู้ประกันตนจะได้รับ
ติดตามชมประเด็นรู้เท่ารู้ทัน ในช่วง \”วันใหม่ ไทยพีบีเอส\” ทุกวันจันทร์ ศุกร์ ทางไทยพีบีเอส หรือชมย้อนหลังได้ทาง http://www.thaipbs.or.th/Rutan

กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://goo.gl/hdy2ye
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
Google Plus : http://www.thaipbs.or.th/GooglePlus
LINE : http://bit.ly/2GtS44i
Youtube : http://www.youtube.com/user/ThaiPBS

สิทธิประกันสังคมที่ผู้ประกันตนต้องรู้ : รู้เท่ารู้ทัน (18 เม.ย. 62)

ประกันสังคมมาตรา 33, 39 และ 40 กรณีบำเหน็จบำนาญ คุณคือใคร/Nathamon channel


1. กองทุนประกันสังคม จัดสรรปั่นส่วนเงินสมทบอย่างไร? เงินสมทบ 5% ที่เราจ่ายไปทุกๆเดือนนั้น จะถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ ได้แก่
1.1 แบ่งไว้ 1.5% กรณีเจ็บป่วย, ทุพพลภาพ, เสียชีวิต และคลอดบุตร ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับสิทธิค่ารักษาพยาบาล
1.2 แบ่งไว้ 0.5 % เป็นเงินชดเชยรายได้ช่วงว่างงาน
1.3 แบ่งไว้ 3 % เป็นเงินสมทบกรณีชราภาพและสงเคราะห์บุตร ซึ่งเงินบำเหน็จ+บำนาญชราภาพที่เราได้ยินกันจนเป็นที่คุ้นชินก็อยู่ในส่วนที่ 3 นี้
2. เงินบำเหน็จ+บำนาญชราภาพ ใครมีสิทธิได้รับบ้าง? ผู้ประกันตนทั้ง 3 มาตรา ได้แก่ มาตรา 33 มาตรา 39 และมาตรา 40 ในทางเลือกที่ 2 จ่ายเงิน 100 บาท/เดือน และ ทางเลือกที่ 3 จ่ายเงิน 100 บาท/เดือน มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์นี้ ส่วนจะได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับฐานเงินเดือนและระยะเวลาการส่งเงินสมทบ
3. เงินบำเหน็จหรือบำนาญ จะได้ตอนไหน ? (ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขการรับสิทธิประโยชน์)
3.1 กรณีที่จะได้รับเงินบำเหน็จ (รับเงินเป็นก้อนครั้งเดียว) สำหรับมาตรา 33 และ39 เงื่อนไขมีอยู่ว่า
1) มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์
2) ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง หรือเป็นผู้ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต
3) จ่ายเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน
ส่วนมาตรา 40 นั้นมีเงื่อนไขอยู่ 2 ข้อนะคะ ก็คืออายุต้องครบ 60 ปีบริบูรณ์และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง 4. สิ่งที่จะบอกได้ว่าตัวเราจะได้รับเป็นบำเหน็จหรือบำนาญ ก็จะมีรายละเอียดย่อยๆ ประมาณ 4 ประเด็น
4.1 กรณีที่จะได้รับเป็นบำเหน็จ มีรายละเอียด อยู่ 2 ประเด็น คือ
1) ส่งเงินสมทบต่ำกว่า 1 ปี (111 ด.) =ได้รับเงินสมทบเฉพาะในส่วนที่เราส่งไป ส่วนใหญ่ก็จะเป็นกลุ่มผู้ประกันตนในมาตรา 33
2) ส่งเงินสมทบตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป (12 – 179 ด.) = ได้รับเงิน 3 ส่วน คือ เงินสมทบของตนเอง+เงินสมทบของนายจ้าง+ผลประโยชน์ตอบแทนจากประกันสังคม ในประเด็นนี้ก็มีทั้งผู้ประกันตนในมาตรา 33 และ39
4.2 กรณีที่จะได้รับเป็นบำนาญ ซึ่งมีทั้งผู้ประกันตนในมาตรา 33 และ39
1) ส่งเงินสมทบครบ 15 ปีหรือ(180 เดือน)พอดี = ได้เงินรายเดือนในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย+เงินสมทบของนายจ้าง+ผลประโยชน์ตอบแทน โดยมาตรา33 ฐานเงินเดือนที่ใช้คำนวณอยู่ที่ 15,000 บาท ส่วนมาตรา39 คำนวณที่ฐานเงินเดือน 48,00 บาท
2) ส่งเงินสมทบเกิน 15 ปี (เกิน 180 เดือน) = ได้เงินเช่นเดียวกันกับประเด็นที่ส่งเงินสมทบครบ 15 ปี+(จำนวนปีที่จ่ายเงินสมทบเกินคูณด้วย 1.5% แล้วค่อยเอาค่าที่ได้ไปคูณฐานเงินเดือน ก็จะได้จำนวนเงินบำนาญที่ได้รับแต่ละเดือนออกมา
5. สำหรับมาตรา 40 นั้นนะคะ จะได้รับเฉพาะบำเหน็จ
ทางเลือก 1. ไม่คุ้มครอง
ทางเลือก 2. =(50×จำนวนเดือน) +เงินออมเพิ่มถ้ามี+ผลประโยชน์ตอบแทนจากประกันสังคม
ทางเลือก 3. =(150×จำนวนเดือน) +เงินออมเพิ่มถ้ามี+ผลประโยชน์ตอบแทนจากประกันสังคม
ประกันสังคมบำเหน็จบำนาญชราภาพ

ประกันสังคมมาตรา 33, 39 และ 40 กรณีบำเหน็จบำนาญ คุณคือใคร/Nathamon channel

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *