Home » สอนการคำนวณเครดิตภาษีเงินปันผล | TAX | เงินปันผล เสีย ภาษี อย่างไร

สอนการคำนวณเครดิตภาษีเงินปันผล | TAX | เงินปันผล เสีย ภาษี อย่างไร

สอนการคำนวณเครดิตภาษีเงินปันผล | TAX


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สำหรับใครก็ตาม ที่ได้รับเงินปันผลจากบริษัทแล้วยังคำนวณเครดิตภาษีเงินปันผลไม่เป็น คลิปนี้มีคำตอบ

ฝากกด Subscribed เป็นกำลังใจให้พวกเราด้วยนะคะ และเพื่อไม่ให้พลาดสาระดีดี อย่าลืมกดกระดิ่งด้วยนะคะพี่พี่

ติดตาม TaxeasyByPK ช่องทางอื่นๆ ได้ที่
Facebook : https://www.facebook.com/taxeasyByPK
มีปัญหาสอบถาม รับปรึกษาพูดคุยกันได้ ที่ inbox ค่ะ
ทำภาษีให้เป็นเรื่องง่ายกับTaxeasyByPK

สอนการคำนวณเครดิตภาษีเงินปันผล | TAX

เครดิตภาษีเงินปันผล คืออะไร? แล้วเราต้องยื่นไหม? I TAX เพื่อนๆ EP4


ใครที่ลงทุนหุ้น อาจกำลังเข้าใจว่าเงินปันผลที่ได้รับจะต้องเสียภาษีในอัตรา 10%  และสามารถเลือกได้ว่าจะยอมเสีย 10% แล้วจบไป หรือจะนำมารวมคำนวณภาษีและเครดิตภาษีตอนสิ้นปีก็ได้ แต่นั่นเป็นความเข้าใจถูกเพียงครึ่งเดียวเท่านั้น! เพราะเมื่อยอมหัก ณ ที่จ่าย 10% โดยไม่นำมารวมคำนวณภาษีและเครดิตภาษีเงินปันผล นั่นคือเราอาจกำลังเสียภาษีเงินได้ในอัตราสูงถึง 28% ไม่ใช่แค่ 10% อย่างที่เคยเข้าใจ 
TAXเพื่อนๆ วางแผนภาษี ลดหย่อนภาษี
ทำไมถึงเป็นอย่างนั้น และเครดิตภาษีเงินปันผลคืออะไร คลิปนี้จะมาเล่าให้ฟัง
เลือกฟังเนื้อหาที่สนใจไว ๆ
1:11 เงินปันผลจากหุ้น เสียภาษีอย่างไร?
3:48 เลือก “หักจ่ายจบ” หรือ “ยื่นรวมและเครดิต” ดี?
5:09 เครดิตภาษีเงินปันผล คืออะไร?
6:19 3 สิ่งที่ควรรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับภาษีเงินปันผล
อ่านบทความสรุปเนื้อหาได้ที่ https://finno.me/taxfriendep4post

เปิดบัญชีซื้อกองทุนรวมกับ FINNOMENA ได้ที่ https://finno.me/oa954
ฝากอีกนิดนึง สำหรับผู้ที่กำลังวางแผนลดหย่อนภาษีด้วยกองทุนรวมไม่ว่าจะเป็น SSF หรือ RMF วันนี้ทาง FINNOMENA เปิดให้ผู้ลงทุนสามารถเปิดบัญชีและซื้อกองทุนรวมลดหย่อนภาษีจากแอปพลิเคชั่นได้ โดยไม่ต้องใช้กระดาษแม้แต่แผ่นเดียว ผู้ที่สนใจสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ https://finno.me/taxfundfund

เครดิตภาษีเงินปันผล คืออะไร? แล้วเราต้องยื่นไหม? I TAX เพื่อนๆ EP4

อย่าเพิ่งเล่นหุ้นถ้ายังไม่ได้ฟังคลิปนี้ สิ่งที่ควรรู้ก่อนจะลงทุนในตลาดหุ้น


แชร์ประสบการณ์สิ่งที่คุณควรจะรู้ ก่อนจะเข้ามาลงทุนในตลาดหุ้น โลกไม่ได้สวยหรู คุณต้องเตรียมพร้อมจะเจอกับความผิดหวังเช่นกัน
ตลาดหุ้นไม่ใช่โรงทาน ทุกคนเข้ามาล้วนจะมาเอาเงินทั้งนั้น ความรู้จึงสำคัญมาก อยากได้เงิน แต่ไม่ทุ่มเทจะรอดได้ไง
ลงทุนเริ่มแรก ใช้เงินน้อยๆ ก็ได้ เพื่อศึกษา จับจังหวะ รู้จักขาดทุน เก็บประสบการณ์ก่อน คนที่ลงทุนเกินตัวมักจะเจ๊งเป็นส่วนใหญ่
หุ้นทุกตัว มีคนทำราคา (เจ้ามือ) หุ้นที่เจ้ามือเลิกเล่น ต่อให้ทิ้งไว้กี่ปี ก็ไม่มีทางหลุดดอย
เวลาหุ้นลง มันลงเร็วและน่ากลัวกว่าที่คุณคิด การคัทลอส จึงสำคัญมาก เพื่อเก็บเงินต้นเอาไว้ อย่าทนขาดทุน ให้ทนกำไร
ตลาดหุ้นมันจะมีข่าวตลอดเวลา เล่นตามข่าว ส่วนใหญ่จะเจ๊ง
คุณไม่มีทางที่จะซื้อได้ราคาต่ำสุด และขายราคาสูงสุด หุ้นต่ำแล้ว ยังมีต่ำกว่า ตราบใดที่หุ้นยังไม่กลับตัว
ไม่มีใครหวังดีกับคุณในตลาดหุ้นหรอก แม้แต่โบรกที่เชียร์ซื้อขาย เค้าทำไปก็ได้ค่าคอม
อย่าลอกแบบคนอื่น แต่ให้ศึกษาแล้วนำมาปรับเป็นแนวทางของเรา เราทนขาดทุนรับความเสี่ยงได้ไม่เท่าคนอื่น
การอยู่รอดได้ในตลาดหุ้น นอกจากความรู้แล้ว จิตใจก็สำคัญไม่แพ้กัน
ตอนขึ้นอย่าหลง ตอนลงอย่าท้อ

อย่าเพิ่งเล่นหุ้นถ้ายังไม่ได้ฟังคลิปนี้ สิ่งที่ควรรู้ก่อนจะลงทุนในตลาดหุ้น

อยากมีเงินใช้เดือนละ 20000 บาท ต้องลงทุนในพอร์ตหุ้นปันผลเท่าไหร่? (3/3) I วางแผนเกษียณ ให้เงินทำงาน


วางแผนเกษียณ มีเงินใช้เดือนละ 20,000 บาท ด้วยการสร้างพอร์ตหุ้นปันผล ต้องมีเงินเท่าไหร่? (3/3) I มือใหม่ลงทุนหุ้น
การสร้าง Passive Income มีหลายวิธีครับ ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของธุรกิจหรือกิจการที่ให้ Cash Flow ที่มั่นคง หรือการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ แต่หากเรายังไม่มีเงินก้อนใหญ่หรือปัจจัยอื่นๆ ตั้งแต่แรก การค่อยๆ เก็บสะสมหุ้นพื้นฐานดี ปันผลสูง ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจไม่น้อย
เราได้ไอเดียในการสร้างห่านทองคำ ให้เงินทำงาน ผ่านการลงทุนในหุ้นปันผล รวมถึงเทคนิคการหาหุ้นพื้นฐานดี ปันผลสูง ตลอดจนความเสี่ยงกันไปแล้ว จาก 2 ตอนที่ผ่านมา (ถ้าใครยังไม่ได้ดู ย้อนกลับไปดูได้จาก Playlist : สร้าง Passive Income ให้เงินทำงาน ด้วยการลงทุนในหุ้นพื้นฐานดี ปันผลสูง ที่นี่ https://youtube.com/playlist?list=PLYtR5a6yRfEM4JW1HOfVaLVU5be6kuSDx)
ใน EP.3 นี้ เราจะมาลองสร้างพอร์ตหุ้นปันผลแบบมั่นคงกัน (โดยจะขอคำนวณแบบง่ายๆ ไม่รวมภาษีหัก ณ ที่จ่าย 10% ของเงินปันผล เพื่อตัดเรื่องเครดิตภาษีออกไปด้วยครับ และอยู่บนสมมติฐาน พอร์ทหุ้นปันผลที่ให้ปันผลที่นิ่งในชั่วระยะเวลาหนึ่ง บนสภาวะเศรษฐกิจและสภาพอุตสาหกรรมในภาวะปกติใน ขณะ ใด ขณะหนึ่ง เพื่อง่ายต่อการคำนวณ) … ว่าถ้าหากเราอยากได้ Passive Income มาใช้เดือนละ 20,000 บาท เราต้องใช้เงินลงทุนซักเท่าไหร่? มีเงื่อนไขอย่างไร ต้องมีมุมมองอย่างไร ปรับเปลี่ยนหรือ rebalance พอร์ทบ่อยไหน รวมถึงจังหวะการซื้อหุ้นปันผลดีเข้าพอร์ทในเวลาที่เหมาะสม ไม่ให้ได้หุ้นดีในราคาแพงเกินไป (Dividend Yield) นอกจากนั้นยังมีของแถมท้ายคลิป เป็น 3 ลักษณะหุ้นปันผลที่ดี ควรมีอะไรบ้าง (ช่วงนี้ลืมเปิดไมค์ เสียงอาจไม่ชัดเท่าทีควร ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยครับ) เพื่อเป็นแนวทาวไปสู่ “อิสรภาพทางการเงิน” คำที่ใครๆ ก็ชอบใช้ ใครๆ ก็อยากได้ ไม่ต้องทำงาน แต่มีเงินใช้ แต่กว่าจะไปถึงจุดนั้น ก็ไม่ใช่ง่าย ต้องผ่านการทำงาน กระบวนการ มาหนักไม่ใช่น้อย และการสร้างพอร์ทหุ้นปันผลที่มั่นคง ก็เป็นแนวทางนึง ที่จะไปสู่อิสรภาพทางการเงินได้อย่างแท้จริง
ใครมีกลยุทธ์ ไปสู่อิสรภาพทางการเงินอย่างไรบ้าง หรืออยู่จุดไหนบนเส้นทางแล้วบ้าง พบเจออุปสรรคอะไร อย่าลืมเอามาเล่าสู่กันฟังบ้างนะครับ และ อยากให้จารย์โจทำคลิปเรื่องอะไรก็สามารถเสนอมาได้ใน Comment เลยครับ และเราจะเติบโตไปด้วยกันในทุก EP ครับ
หวังว่าคลิปนี้จะเป็นประโยชน์กับเพื่อนๆ ฝากกด Like กด Share เป็นกำลังใจให้จารย์โจด้วยนะคับ ขอบคุณมากๆ ครับ

📌 เข้าร่วมกลุ่ม \”MONEY WISDOM รอบรู้การเงิน ฉลาดลงทุน \” ร่วมพูดคุยกันในแบบครอบครัว
👉🏻 www.facebook.com/groups/moneywisdombyzerotosixty
📌 ติดอาวุธความรู้ ห้องสมุดการเงินการลงทุน ความรู้ในแบบอาจารย์ บอกเล่าในแบบคนธรรมดา
👉🏻 https://www.youtube.com/Joe_FinPlanner

การฟังมุมมองที่แตกต่างเพื่อคิดวิเคราะห์ ทำให้เราเก่งขึ้นทุกวัน
จารย์โจ
รุจิระ อัคราพิริยพงศ์
ที่ปรึกษาการเงิน AFPT และ นักวางแผนจัดพอร์ตการลงทุน IP License

พอร์ตหุ้นปันผล วางแผนเกษียณ ให้เงินทำงาน

อยากมีเงินใช้เดือนละ 20000 บาท ต้องลงทุนในพอร์ตหุ้นปันผลเท่าไหร่? (3/3) I วางแผนเกษียณ ให้เงินทำงาน

วางแผนภาษีเงินได้บุคคล ต้องเข้าใจในการสิทธิเลือกเสียภาษีเงินได้ เครดิตภาษีเงินปันผล สิทธิ Final Tax


บุคคลธรรมดาต้องนำส่งภาษี และคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา 48 ประมวลรัษฎากร
วิธีหลักเป็นไปตามมาตรา 48 (1) (2) แต่ยังมีวิธีการคำนวณภาษีในแบบอื่นๆ ด้วย
การเลือกวิธีเสียภาษี เป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
0:46 ทบทวนวิธีการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
1:19 วิธีคำนวณภาษีตามมาตรา 48(1)(2) ซึ่งเป็นวิธีหลัก
3:56 สิทธิเลือก สำหรับเงินได้จากการให้โดยเสน่หา
7:39 ตัวอย่างนาย A ซึ่งได้รับเงินจากมารดาโดยเสน่หา
13:05 สิทธิเลือก สำหรับเงินได้จากดอกเบี้ย เงินปันผล
14:30 ตัวอย่าง บุคคลที่ได้รับดอกเบี้ย เลือกใช้สิทธิแบบไหนดี
22:41 บุคคลธรรมดาได้รับเงินปันผลจากกองทุนรวม
25:58 เครดิตภาษีเงินปันผลและส่วนแบ่งกำไร
27:40 เครดิตภาษีเกิดจากการที่รัฐเก็บภาษีซ้ำซ้อน
37:52 ตัวอย่างบุคคลที่ได้รับเงินปันผล
แหล่งอ้างอิงข้อมูล นาที 27.40 ภาพกระบวนการเสียภาษีของกำไรสุทธิของนิติบุคคล และภาษีหัก ณ ที่จ่ายของเงินปันผล (ที่มา: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.(2555). Set Note Vol. 1/2555 ฉบับเดือนเมษายน)
มเกษตร Kusrc กฎหมายภาษี ยกเว้นภาษี ภาษีเงินได้ ภาษีบุคคล KU

วางแผนภาษีเงินได้บุคคล ต้องเข้าใจในการสิทธิเลือกเสียภาษีเงินได้ เครดิตภาษีเงินปันผล สิทธิ Final Tax

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *