Home » ยกเลิกประกันชีวิต ต้องทำอย่างไรบ้าง | Nana noon | ประกันอัคคีภัย กรุงไทย

ยกเลิกประกันชีวิต ต้องทำอย่างไรบ้าง | Nana noon | ประกันอัคคีภัย กรุงไทย

ยกเลิกประกันชีวิต ต้องทำอย่างไรบ้าง | Nana noon


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เนื่องจากก่อนหน้านี้นุ่นมีทำคลิป ยกเลิกประกันชีวิตทำอย่างไร ได้มีคำถามเข้ามามากอาจจะเป็นที่นุ่นทำคลิปไม่เคลียร์ เลยเป็นที่มาของคลิป ที่จะมาไขข้อสงสัย ในการยกเลิกกรมธรรม์ชีวิตสำหรับคนที่ต้องการ รายละเอียดเป็นอย่างไร ลองชมดูค่ะ
ยกเลิกประกันชีวิต ยกเลิกประกัน ประกันชีวิต
ติดต่องาน : [email protected]

ยกเลิกประกันชีวิต ต้องทำอย่างไรบ้าง | Nana noon

ประกันอัคคีภัย จำเป็นต้อง มี และสำคัญ


กรณีแบงค์บังคับให้ทำตอนกู้ซื้อบ้าน ทำไมต้องทำด้วยหรือ !

ประกันอัคคีภัย จำเป็นต้อง มี และสำคัญ

ประกันอัคคีภัยคืออะไร ? ซื้อบ้านจำเป็นต้องซื้อไหม | Guru Living


ประกันอัคคีภัยคืออะไร ? ซื้อบ้านจำเป็นต้องซื้อไหม | Guru Living
ประกันอัคคีภัยก็คือประกันรูปแบบหนึ่งแหละครับ ซึ่งประกันแบบนี้เขาเรียกว่า “ ประกันวินาศภัย” ซึ่งโดยตามชื่อของเขาประกันตัวนี้ก็จะคุ้มครองเวลาเกิดเหตึไฟไหม้ครับ แต่จริงๆการครอบคลุมการคุ้มครองของประกันวินาศภัยเเนี่ยไม่ใช่แค่เรื่องไฟไหม้เท่านั้นนะครับ ยังเหมารวมไปถึงภัยธรรมชาติอื่นๆด้วยครับเช่น น้ำท่วม พายุ สงคราม หรือ อื่นๆตามเงื่อนไขกรมธรรมที่เราไปทำครับ
เอาเป็นว่าเดี๋ยวผมขออนุญาติอ่านเงื่อนไขความคุ้มครองของประกันอัคคีภัยสักบริษัทหนึ่งให้ฟังก่อนนะครับ
เพลิงไหม้ ฟ้าผ่า และการระเบิดของแก๊สที่ใช้สำหรับสำหรับทำแสงสว่าง หรือใช้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัยเท่านั้น เช่นแก๊สหุงต้ม (ไม่ใช่เพื่อการค้าหรือเชิงพาณิชย์หรืออุตสาหกรรม
ความเสียหายจากน้ำหรือสารเคมีที่ใช้ในการดับเพลิง
ความเสียหายอันเกิดจากเจ้าหน้าที่ ดับเพลิง เช่น การพังบ้านหรือการกระทำใดๆเพื่อการดับเพลิงและป้องกันไม่ให้ไฟขยายตัวและลุกลาม
ความเสียหายจากควัน เขม่า เกรียม อันเนื่องมาจากการเกิดอัคคีภัย
ประกันอัคคีภัยจำเป็นไหมเมื่อจะซื้อบ้าน
คำตอบคือทั้งจำเป็นและไม่จำเป็นครับ ฟังแล้วอาจจะงงๆใช่ไหมครับคืออย่างงรี้ครับถ้าหากเราซื้อบ้านด้วยเงินสด ไม่ได้มีการกู้ขอสินเชื่อธนาคาร “เราไม่จำเป็นต้องซื้อประกันอัคคีภัยครับ” แต่ในทางกลับกันถ้าเรากู้ขอสินเชื่อเพื่อที่จะซื้อบ้านหรือคอนโด กฎหมายจะบังคับให้เราต้องซื้อประกันอัคคีภัยครับและที่สำคัญต้องทำจนเราผ่อนธนาคารหมดด้วยนะครับ
ทำไมถึงเป็นอย่างนี้ เราลองคิดภาพตตามกันดูนะครับว่าถ้าธนาคารให้เรากู้เงินไปซื้อบ้าน แล้วบ้านที่เราไปกู้มาเนี่ยเกิดไฟไหม้หรืออะไรก็แล้วแต่ที่เป็นเหตุข้างต้นที่ผมพูดมาเนี่ย ใครจะมารับผิดชอบครับ ซึ่งถ้าไม่มีประกันอัคคีภัย เราในฐานะผู้กู้เงินก็น่าจะยากมากที่จะหาคนมารับผิดชอบต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น หนี้บ้านก็ยังต้องผ่อนต่อ ดังนั้นกฎหมายจึงบังคับครับว่า เมื่อเรากู้ขอสินเชื่อบ้าน เราจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องทำประกันอัคคีภัยด้วยครับ

แล้วประกันอัคคีภัยต้องจ่ายแพงไหม
ด้วยหลักการแล้วนะครับ ประกันใดๆก็ตามจะมีการคิดราคาตาม วงเงินคุ้มครองครับ หมายความว่าถ้าเขาคุ้มครองเยอะ เบี้ยประกันก็จะแพง ถ้าคุ้มครองน้อยเบี้ยประกันก็จะถูกแค่นี้เองคับ และอีกเรื่องที่จะทำให้ประกันอัคคีภัยแพงขึ้นเช่นพวก ออฟชั่นการคุ้มครองเพิ่มเติมเช่น ถ้าเกิดน้ำท่วม แผ่นดินไหว หรือ พายุอะไรเกิดขึ้นจะมีความคุ้มครองเพิ่มขึ้นมาด้วย ดังนั้นเบี้ยก็จะแพงขึ้นครับ
ขประมาณนี้ครับ ซึ่งตัวอย่างที่ผมยกขึ้นมานี้เป็นเพียงตัวเลขของบริษัทหนึ่งที่ยกตัวอย่งามานะครับ ถ้าอยากทราบตัวเลขจริงๆ และดีเทลข้อมูลจริงๆแนะนำว่าให้ไปคุยกับธนาคารดีกว่านะครับ
ถ้าเราลองคำนวนคล่าวๆเพื่อให้เข้าใจง่ายๆคือประกันอัคคีภัยก็จะประมาณร้อยละ 0.01 หรือ จ่ายเบี้ยปีละ ล้านละ 1,000 บาท นั่นเองครับคิดง่ายๆ

แล้วต้องทำทุนประกันเท่าไรดี
ก่อนที่จะคุยกันผมขอเกริ่นสำหรับคนที่ยังไม่ทราบก่อนนะครับ คำว่าทุนประกันคือ วงเงินที่ถ้าเกิดความเสียหายบริษัทประกันจะชดเชยให้เรานะครับ คำว่าทุนประกัน ไม่ใช่ราคาบ้านของเรานะครับ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าบ้านเรา 1 ล้านบาท เราอาจซื้อทุนประกันแค่ 7 แสน ก็ได้คับ ไม่จำเป็นจะต้องเท่ากับราคาทรัพย์เสมอไปนะครับ
กลับมาที่คำถามว่าะซื้อประกันอัคคีภัยด้วยทุนประกันเท่าไรดี ถึงแม้ว่าเขาจะไม่ได้กำหนดว่าประกันอัคคีภัยจะต้องทำทุนประกันให้ cover 100% ของราคาบ้านของเราแต่เอาเข้าจริงๆ เราควรจะทำทุนประกันไม่เกิน 70% ของราคาทรัพย์ครับ ยกตัวอย่างง่ายๆว่าถ้าบ้านเรา 1 ล้าน เราควรทำทุนประกันไม่น้อยกว่า 7 แสนครับ หรือว่าถ้าจะไปให้ถึ 100% ของราคาบ้านเลยอันนี้ก็ไม่มีปัญหานะครับ แต่ที่ผมแนะนำมานี้ก็ต้อแล้วแต่แต่ละคนด้วยนะครับก็ลองเอาปรับใช้กับตัวเองนะครับ
ซึ่งนอกจากประกันอัคคีภัยแล้วยังมีประกันอีกตัวที่มาเกี่ยวข้องถ้าหากว่าเราจะกู้ซื้อบ้านด้วยนะครับประกันตัวนั้นคือ “ประกัน MRTA” หรือประกันคุ้มครองวงเงินสินเชื่อครับ ซึ่งผมเคยทำคลิปอธิบายแบบละเอียดไว้แล้ว ถ้าใครสนใจก็สามารถเข้าไปชมกันได้นะครับ
ประกันอัคคีภัย ประกันบ้าน ประกันวินาศภัย

ประกันอัคคีภัยคืออะไร ? ซื้อบ้านจำเป็นต้องซื้อไหม | Guru Living

ซื้อประกัน สุขภาพ ค่ายไหน บริษัทไหน ดีที่สุด(ไม่มีสปอนเซอร์) / Dr.Candy แม่ลูกอมมีเรื่องเล่า


ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ บริษัทประกัน

ซื้อประกัน สุขภาพ ค่ายไหน บริษัทไหน ดีที่สุด(ไม่มีสปอนเซอร์) / Dr.Candy แม่ลูกอมมีเรื่องเล่า

(รีวิว)สินเชื่อเงินก้อนข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ ผ่อนนาน 20ปี วงเงิน 5 ล้าน! |ธนาคารกรุงไทย


(รีวิว)สินเชื่อเงินก้อนข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ ผ่อนนาน 20ปี วงเงิน 5 ล้าน! |ธนาคารกรุงไทย
จุดเด่น
เงินกู้ ใช้จ่ายยทุกวัตถุประสงค์
วงเงินกู้สูงสุด 5 ล้านบาท
ไม่ต้องมีเงินเดือนผ่านกรุงไทย ก็ยื่นกู้ได้
ผ่อนนานสูงสุด 20 ปี

อัตราดอกเบี้ย
หักเงินได้ชำระหนี้ เริ่มต้น MRR + 0.75% ต่อปี
Auto Debit เริ่มต้น MRR + 2.75% ต่อปี
วงเงินกู้ที่ให้
บุคคลค้ำประกัน ให้วงเงินกู้สูงสุด 2 ล้านบาท
หลักทรัพย์ค้ำประกัน ให้วงเงินกู้สูงสุด 5 ล้านบาท

คุณสมบัติผู้กู้
ข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่องค์การมหาชน เจ้าหน้าที่องค์การของรัฐ มีเงินเดือนตั้งแต่ 13,000 บาท ขึ้นไป
พนักงานราชการ พนักงานสัญญาจ้างและลูกจ้าง ในหน่วยงานราชการและ รัฐวิสาหกิจ ที่มีกำหนดระยะเวลาจ้าง โดยมีสัญญาจ้างไม่ต่ำกว่า 2 ปี และอายุงานต่อเนื่องในหน่วยงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป มีเงินเดือนตั้งแต่ 15,000 ขึ้นไป
เอกสารประกอบการขอสินเชื่อ
สำเนาบัตรประชาชน สำเนาบัตรข้าราชการ หรือสำเนาบัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ
สำเนาทะเบียนบ้าน
ต้นฉบับหนังสือรับรองรายได้ หรือสลิปเงินเดือนล่าสุด หรือต้นฉบับหลักฐานอื่นที่แสดงรายได้ที่เชื่อถือได้
Statement ย้อนหลังมากกว่า 3 เดือน หากเป็นลูกค้ารายใหม่ที่ใช้บัญชีกรุงไทยไม่ถึง 6 เดือน สามารถยื่นบัญชีอื่นเพื่อการพิจารณาได้

สิ่งที่ต้องระวังสำหรับสินเชื่อตัวนี้
1.อัตราดอกเบี้ยอาจมีการปรับเพิ่มขึ้นได้ ถ้าค่า MRR เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งการที่ดอกเบี้ยขึ้นสูงจะทำให้ยอดผ่อนชำระต่อเดือนสูงขึ้นไปด้วย
2.เราควรชำระหนี้ให้กับธนาคารตามยอดที่เขากำหนดไว้ และต้องชำระภายในระยะเวลาที่ธนาคารกำหนด ซึ่งถ้าเราไม่ทำแบบนี้ธนาคารจะมีวิธีการคิดดอกเบี้ยปรับโดยใช้เกณฑ์ตามที่ธนาคารกำหนดซึ่งเป็นอัตราที่สูงมากๆ
3.ถ้าผิดนัดชำระหนี้หรือผิดเงื่อนไขการชำระธนาคารอาจจะมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม หรือค่าใช้จ่ายในการติดตามทวงถามหนี้
สำหรับคนที่สนใจสามารถเข้าไปดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ธนาคารทุกสาขาหรือไปดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่หน้าเว็บไซต์เลยนะครับเดี๋ยวผมจะทิ้งไว้ข้างล่างคลิปนี้นะ
https://krungthai.com/th/personal/loan/personalloan/369

หลังจากที่เราได้ฟังรายละเอียดผลิตภัณฑ์กันไปทั้งหมดแล้วนะครับผมอยากจะย้ำให้เพื่อนๆฟังอีกทีนะครับว่าสินเชื่อทุกตัวผลิตภัณฑ์ทางการเงินทุกตัวนะครับมีรูปแบบมีวัตถุประสงค์การใช้งานและที่สำคัญมีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกันนะครับ มันอยู่ที่การเลือกใช้ของเราว่าเราจะเลือกนำไปใช้ในช่วงเวลาไหนได้ถูกต้องและเหมาะสมหรือเปล่า

สำหรับผมนะ Main point ของ สินเชื่อส่วนบุคคล ส่วนมากเขาออกแบบมาเพื่อ “คนที่ต้องการสภาพคล่องในช่วงเวลาสั้นๆ” ต้องกาใช้เงินสดออกมาเผื่อใช้จ่ายฉุกเฉิน ต้องการเงินมาหมุนเวียนในธุรกิจ หรือ ต้องการเงินมาปิดหนี้นอกระบบที่ดอกแพงมากกกกกก
ดังนั้นสิ่งที่ผมอยากให้เพื่อๆพึงระลึกไว้เสมอนะครับก่อนจะกู้เงินไม่ว่าจะสินเชื่ออะไรก็แล้วแต่ให้จำไว้ว่า สินเชื่อทุกชนิด มีราคาที่ต้องจ่ายนั่นก็คือ ดอกเบี้ย
สินเชื่อส่วนบุคคลตัวนี้ก็เหมือนกันครับ ทุกครั้งที่จะไปขอกู้เงินออกมา อยากให้ทบทวนดูก่แนว่าจำเป็นจริงๆไหม และ เรามีแผนหรือมีเงินสำรองในการชำระคืนหรือเปล่า เพราะย้ำอีกครั้งนะครับว่าดอกเบี้ยเฉลี่ยของสินเชื่อส่วนบุคคลเนี่ยอยู่ที่ปีละประมาน 1828% ซึ่งสูงมากกกกก อย่าใช้เพลินจนลืมคิด จนลืมคำนวน ไปนะครับ
เพราะไม่อย่างนั้นมันจะกลายเป็นปัญหาทางการเงินที่ใหญ่มากๆเลยครับ
จิงๆผมมีความเชื่ออย่างหนึ่งนะครับอันนี้เป็นความเชื่อส่วนตัวของผมนะ ผมเชื่อว่า สินเชื่อทุกประเภทมีประโยชน์และมีข้อดี ข้อเสียในตัวของเขาเองครับ เราจะไปเหมารวมว่า มันแย่ซะหมด หรือ อันนี้ไม่ดี อันนั้นไม่ดีอันนี้ผมคิดว่าก็น่าจะไม่จิงทั้บหมดนะครับ มันอยู่ที่เราครับ เราในฐานะเจ้าของสินเชื่อเราต้องวางแผน บริหาจัดการ ศึกษาข้อกำหนดและเงื่อนไขต่างๆ ของ product ทางการเงินพวกนี้และนำมาใช้ให้อย่างถูกต้องนะครับ
สินเชื่อส่วนบุคคลกรุงไทย กู้เงินกรุงไทย ธนาคารกรุงไทย กรุงไทย สินเชื่อส่วนบุคคล KTB กู้เงิน

(รีวิว)สินเชื่อเงินก้อนข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ ผ่อนนาน 20ปี วงเงิน 5 ล้าน! |ธนาคารกรุงไทย

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *