Home » พลังงานสะอาด(Clean Energy) คืออะไรกันนะ? | พลังงานสะอาด คือ

พลังงานสะอาด(Clean Energy) คืออะไรกันนะ? | พลังงานสะอาด คือ

พลังงานสะอาด(Clean Energy) คืออะไรกันนะ?


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

รายวิชา 315201 sec03
Mini Project : VDO/Animation จากหัวข้อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมโลกหรือพลังงานสะอาด
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
6310410233 นางสาวสุคนธ์ฑา อินทร์ขาว
6310410221 นางสาวชวัลลักษณ์ ทองเขียว
6310410011 นางสาวกานต์ธิดา ศรีบุรมย์
6310410089 นางสาวบุญญาลักษ์ ตั้งหลัก
6310410214 นางสาวศรสวรรค์ นาแขม
6310410146 นางสาวศศิธร คำเลิศ
6310410129 นางสาวมนัสชนก จิตมนัส
6310410051 นางสาวณัฐวีระยา ศรีนุ่น
6310410133 นางสาวรังสิมา สีมาวงษ์
6310410246 นางสาวทิฆัมพร ณ พัทลุง

พลังงานสะอาด(Clean Energy) คืออะไรกันนะ?

ทำไมเราจึงต้องใช้พลังงานสะอาด (CLEAN ENERGY)


ถึงบางอ้อกับกกพ. : The series
.
ในขณะที่คุณพ่อเปิ้ล และลูกๆ ทั้ง 4 ออ กำลังเล่นเกมผ่านแว่น VR อย่างสนุกสนานอยู่ แล้วทันใดนั้น ไฟฟ้าในบ้านทั้งหลังก็ดับลง โดยไม่ทราบว่าเกิดจากสาเหตุใด
.
เมื่อไม่มีไฟฟ้าใช้ ลูกๆ ทั้ง 4 ออจะเป็นอย่างไรกันบ้าง มาดูคลิปนี้กัน !
.
.
CLEANENERGYFORLIFE ใช้พลังงานสะอาดเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของทุกคน
คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กกพ. กองทุนพัฒนาไฟฟ้า พลังงานสะอาด
พลังงานหมุนเวียน พลังงานทดแทน ครอบครัวเปิ้ลนาคร

ทำไมเราจึงต้องใช้พลังงานสะอาด  (CLEAN ENERGY)

🛤️ทางออกของ Bitcoin จะเป็นพลังงานสะอาด คือ การผสมผสานระบบการทำงานของ Ethereum อาจแก้ไขสถานการณ์!?


🛤️ทางออกของ Bitcoin จะเป็นพลังงานสะอาด คือ การผสมผสานระบบการทำงานของ Ethereum อาจแก้ไขสถานการณ์!?
Facebook: https://web.facebook.com/treedue
Youtube https://youtube.com/channel/UCMOXtCmJgQR9TruT_kOW2g
Blockdit:https://www.blockdit.com/pages/603a7940bc8a200bf9541054
สมัครเทรด Bitkub
https://www.bitkub.com/signup?ref=345533

ชื่อกลุ่ม Crypto Community แลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับคริปโต
Line:https://line.me/R/ti/g/76P557BjH7
เครดิต: Siamblockchain

🛤️ทางออกของ Bitcoin จะเป็นพลังงานสะอาด คือ การผสมผสานระบบการทำงานของ Ethereum อาจแก้ไขสถานการณ์!?

พลังงานยุคใหม่ ในมุมของ ปตท.


พลังงานยุคใหม่ ในมุมของ ปตท.
คงปฏิเสธไม่ได้ว่า พลังงานหมุนเวียน กำลังกลายเป็นเมกะเทรนด์ของโลก
หากเรามาดูการคาดการณ์ขององค์การพลังงานระหว่างประเทศ หรือ IEA
ในปี ค.ศ. 2040 โลกของเราจะใช้พลังงานจาก
น้ำมัน 27%
ก๊าซธรรมชาติ 26%
พลังงานหมุนเวียน 23%
ถ่านหิน 20%
นิวเคลียร์ 4%
หากนำมาเทียบกับการใช้พลังงานในยุคนี้แล้ว จะเห็นได้ว่าโลกของเราจะหันเข้าหาพลังงานจากก๊าซธรรมชาติ และพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น
แล้ว ปตท. บริษัทพลังงานแห่งชาติ มีมุมมองกับเรื่องนี้ อย่างไร?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
แม้ว่าปัจจุบัน หลายคนจะพูดถึงพลังงานหมุนเวียน หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่ทำให้เรา สามารถผลิตพลังงานมาใช้เองได้ (ตัวอย่างโมชันกราฟิก เช่น โซลาร์รูฟ)
ปตท. ยังมองว่าแหล่งพลังงานสำคัญ ที่จะเป็นรอยต่อระหว่างพลังงานจากฟอสซิล และพลังงานหมุนเวียน
ก็คือ “ก๊าซธรรมชาติ”
นั่นก็เพราะว่า ก๊าซธรรมชาติ ถือเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่สะอาด
สะท้อนมาจาก ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ จากการผลิตไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิง
(นำเสนอเป็นกราฟอินโฟเปรียบเทียบ)
ถ่านหิน 1.04 กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์ ต่อกิโลวัตต์ ชั่วโมง
ลิกไนต์ 0.86 กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์ ต่อกิโลวัตต์ ชั่วโมง
ดีเซล 0.67 กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์ ต่อกิโลวัตต์ ชั่วโมง
ก๊าซธรรมชาติ 0.39 กิโลกรัม คาร์บอนไดออกไซด์ ต่อกิโลวัตต์ ชั่วโมง
จะเห็นได้ว่าก๊าซธรรมชาติ ก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในปริมาณที่น้อยกว่าถ่านหินกว่า 1 ใน 3 ซึ่งจากข้อมูลที่เห็น ทำให้เราสรุปได้ว่า ก๊าซธรรมชาติจะเข้ามามีบทบาทกับเรามากขึ้น
อีกเรื่องสำคัญก็คือ เรายังมีปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติขนาดใหญ่อยู่ทั่วทุกมุมโลก และเพียงพอต่อการใช้งาน เป็นอีกร้อยปี จากแนวโน้มที่เห็น จึงทำให้กลยุทธ์การลงทุนระยะยาวของ ปตท. 30 ปี ต่อจากนี้
จะมีการเพิ่มสัดส่วนการลงทุน ในธุรกิจก๊าซธรรมชาติเหลวเป็นหลัก และได้ตั้งเป้าหมาย การดำเนินการแบบครบวงจร ซึ่งประกอบไปด้วย
LNG Receiving Terminal หรือ สถานีรับจ่ายก๊าซธรรมชาติเหลว
LNG Truck Loading เพื่อรองรับผู้ใช้ก๊าซที่อยู่นอกแนวท่อ
ทั้งหมดนี้ก็เพื่อเตรียมความพร้อม เพื่อพัฒนาให้ประเทศไทย เป็น LNG Hub
หรือศูนย์กลางการซื้อขาย LNG ระดับภูมิภาค

แล้ว ปตท. มีมุมมอง การลงทุนในธุรกิจพลังงานไฟฟ้า อย่างไร?
ปตท. จะเข้ามาสนับสนุนการใช้พลังงานรูปแบบของพลังงานไฟฟ้าเต็มรูปแบบโดยธุรกิจแรก ที่จะเข้ามาพัฒนาก็คือ
การขยายธุรกิจผลิตไฟฟ้า จากพลังงานหมุนเวียน
ปตท. มีเป้าหมายกำลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
อยู่ที่ 8,000 เมกะวัตต์ ภายในปี พ.ศ. 2573 โดยเป้าหมายดังกล่าว จะเป็นการดำเนินงานร่วมกับ บริษัทในเครืออย่าง GPSC เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งนำไปสู่การพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืน
อีกหนึ่งเป้าหมายของ ปตท. ก็คือ ธุรกิจแบตเตอรี่
รู้หรือไม่ว่ามูลค่าตลาดแบตเตอรี่สำหรับรถยนต์ไฟฟ้า จะมีอัตราการเติบโตเฉลี่ย 12.3% ต่อปี ในอีก 5 ปีข้างหน้า
ในขณะเดียวกัน รัฐบาลไทยก็ได้ตั้งเป้าหมายว่าภายในปี พ.ศ. 2579
จะมีการจำหน่ายรถยนต์ไฟฟ้าถึง 1.2 ล้านคัน นั่นจึงทำให้ ปตท. เริ่มวางแผนพัฒนาธุรกิจแบตเตอรี่
สำหรับยานยนต์ไฟฟ้า รวมถึงระบบกักเก็บพลังงาน
ทั้งหมดนี้ก็เพื่อให้คนไทย เข้าถึง EV คุณภาพในราคาที่เหมาะสม
นอกจากนี้ ปตท. ยังมีแผนในการขยายพื้นที่ให้บริการ
สถานีอัดประจุไฟฟ้า หรือ EV Charger อย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายการขยายธุรกิจเริ่มต้นจาก Prime Locations เช่น ศูนย์การค้า โรงแรม สำนักงาน พื้นที่อสังหาริมทรัพย์ รวมถึงสถานีบริการน้ำมัน
เพื่อขยายขอบเขตการให้บริการ และรองรับตลาดรถยนต์ไฟฟ้า ที่กำลังจะเข้ามาสู่ประเทศไทยในอนาคต
จากตรงนี้จะเห็นได้ว่าธุรกิจพลังงานกำลังเป็นหนึ่งในธุรกิจที่กำลังเข้าสู่ยุคของการเปลี่ยนผ่าน 41.สิ่งเหล่านี้ก็น่าจะเข้ามาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้พลังงานของเรา ไม่มากก็น้อย
ซึ่งถ้าเราดูจากมุมมองต่อเทรนด์ในอนาคต และการเตรียมพร้อมของ ปตท.
เราก็น่าจะสรุปได้ทันทีว่า ปตท. เตรียมพร้อมอย่างดี สำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่กำลังจะมาถึง..

พลังงานยุคใหม่ ในมุมของ ปตท.

โซลาร์เซลล์ พลังงานสะอาดที่ยั่งยืน


Sustainable Development Goals (SDGs) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่เราทุกคนต้องช่วยกันพัฒนาโลกของเราทั้งใบนี้ ซึ่งหนึ่งในนั้นคือเรื่องสาธารณสุขและพลังงานสะอาดที่ยั่งยืน
.
ถอดโมเดลโซลาร์เซลล์ ‘เปลี่ยนแดดเป็นไฟฟ้า’ ของโรงพยาบาลจะนะ จังหวัดสงขลา สู่โมเดลที่กำลังจะเกิดขึ้น ‘โซลาร์เซลล์เพื่อโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อ.นาทวี’ และอีกหลายๆ โรงพยาบาลที่อาจจะตามมา คุณก็สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างพลังสะอาดที่ยั่งยืนนี้ได้
.
โดยร่วมบริจาคได้ที่
ชื่อบัญชี เงินบริจาคโซลาร์เซลล์ เพื่อโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อ.นาทวี ธนาคารกรุงไทย เลขบัญชี 9280747517
.
และโปรดร่วมแสดงความคิดเห็น เพื่อให้ประเทศไทยมีพลังงานที่ยั่งยืน https://bit.ly/SolarQQ
.
โซลาร์เซลล์ พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้ TheStandardDaily
กกพ TheStandardCo

โซลาร์เซลล์ พลังงานสะอาดที่ยั่งยืน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *