Home » บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร | ราย ได้ บุคคลธรรมดา

บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร | ราย ได้ บุคคลธรรมดา

บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สร้างขึ้นมาเพื่อแบ่งปันความรู้ด้านบัญชี ภาษี ประกันสังคม การจดทะเบียนการค้า การจดทะเบียนพาณิชย์ สอนการทำบัญชี ครอบคลุมทั้งระบบ

บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร

การคำนวณภาษีรายได้ส่วนบุคคลธรรมดา ขั้นแรก ด้วย Excel


การคำนวณหาภาษีรายได้ส่วนบุคคลธรรมดาที่ต้องเสีย ตามอัตราภาษีแบบขั้นบันได ด้วย Excel ง่ายๆโดยหักค่าใช้จ่าย 50% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 100,000 บาท และ หักค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท ก่อนถ้าไม่เกิน 150,000 บาท จะได้รับการยกเว้น ถ้ามากกว่า 150,000 บาท ให้หักค่าลดหย่อนต่างๆก่อนที่จะคิดภาษีตามอัตราการเสียภาษีแบบขั้นไดต่อไป

การคำนวณภาษีรายได้ส่วนบุคคลธรรมดา ขั้นแรก ด้วย Excel

รายได้เท่าไหร่ถึงเริ่มเสียภาษี | KTAM TV ONLINE


ติดต่อได้ที่
○ ธนาคารกรุงไทยทุกสาขา
○ ผู้สนับสนุนการขายทั่วประเทศ
○ บลจ.กรุงไทย(cellphone)026866100 กด 9
ผู้ลงทุนต้องทำความเข้าใจลักษณะสินค้า
เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยง ก่อนการตัดสินใจลงทุน

รายได้เท่าไหร่ถึงเริ่มเสียภาษี | KTAM TV ONLINE

คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ฉบับละเอียดเว่อร์! | รู้เท่าธัน EP.7


ในคลิปนี้เราจะมาสอนวิธีการคำนวณภาษีแบบง่ายๆ แบบจัดเต็ม อธิบายละเอียดมาก ครบจบทุกประเด็น
0:00 Intro
1:14 ประเภทรายได้ตามมาตรา 40 ปี2563
7:13 รายการลดหย่อนภาษี ปี2563
13:33 อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
14:36 ตัวอย่างคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
…………………
ในทุกๆ ปี อีกหนึ่งหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่มีรายได้ต้องทำ ก็คือ ยื่นแสดงรายได้และจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้กับกรมสรรพากรนั่นเอง
ดังนั้นมาเรียนรู้เรื่องภาษีกันเถอะ เราเองก็สามารถคำนวณภาษีได้โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมเลย สำหรับมือใหม่หรือคนที่เพิ่งมีเงินเดือนก็สามารถคำนวณภาษีได้ด้วยตัวเองเช่นกัน การคำนวณภาษีไม่ใช่เรื่องยาก ถ้าเรารู้จักหลักการคิดคำนวณ
สมการคำนวณภาษี คือ
รายได้พึงประเมิน ค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน = รายได้สุทธิ
รายได้สุทธิ x อัตราภาษี = เงินภาษีที่เราต้องจ่าย
เรามาเริ่มต้นกันที่ประเภทรายได้ตามมาตรา 40 โดยแบ่งออกเป็นทั้งหมด 8 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 รายได้จากเงินเดือน
ประเภทที่ 2 รายได้จากค่าจ้าง ค่าตำแหน่ง
ประเภทที่ 3 ลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญหา
ประเภทที่ 4 เงินได้จากการลงทุน
ประเภทที่ 5 เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน
ประเภทที่ 6 เงินได้จากวิชาชีพอิสระ
ประเภทที่ 7 เงินได้จากการรับเหมา
ประเภทที่ 8 รายได้จากธุรกิจอื่นๆ
รายการลดหย่อนภาษี ปี2563 แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ดังนี้
1. กลุ่มลดหย่อนทั่วไป
2. กลุ่มประกันชีวิต
3. กลุ่มการลงทุน
4. กลุ่มกระตุ้นเศรษฐกิจ
5. กลุ่มตามมาตราการ COVID19 (กลุ่มพิเศษที่เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เนื่องด้วยสถานการณ์ COVID19 ในปีนี้)
6. กลุ่มเงินบริจาค
(หมายเหตุ: ข้อมูลรายการลดหย่อนภาษี ปี2563 ณ วันที่ 1 พ.ค. 2563)
การคำนวณภาษีบุคคลธรรมดา สามารถดูในคลิปได้เลยครับ เราได้ยกตัวอย่างการคำนวณแบบง่ายๆ เป็นการคำนวณแบบขั้นบันได เหมาะสำหรับมนุษย์เงินเดือน (ผู้ที่มีรายได้ประเภทที่ 1) ส่วนผู้ที่มีรายได้จากช่องทางอื่นๆ นอกจากเงินเดือน (รายได้ประเภทที่ 28) สามารถคำนวณแบบเหมาได้ครับ

คำนวณภาษีบุคคลธรรมดา ภาษี
…………………
ฝากกด Subscribed เป็นกำลังใจให้พวกเราด้วยนะครับ
ติดตาม Cashury ช่องทางอื่นๆ ได้ที่
Facebook : https://facebook.com/Cashury.th
IG : https://www.instagram.com/cashury.th
Blockdit : https://www.blockdit.com/cashury
Twitter: https://twitter.com/Cashury_

คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ฉบับละเอียดเว่อร์!  | รู้เท่าธัน EP.7

อวสานคนหนีภาษี ! เราจะเลี่ยงภาษีได้ยากขึ้นเพราะอะไร ?


จริงไหม? เราจะหนีภาษีกันยากขึ้น เพราะระบบการตรวจสอบที่เปลี่ยนไป และหลายอย่างที่กำลังเปลี่ยนแปลง ทั้งข้อกฎหมาย เทคโนโลยี รวมถึงอื่นๆ อีกมากมายวันนี้พรี่หนอมเลยมาชวนพูดคุยกันในคลิปนี้ครับ
เอาจริง ๆ แล้วตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา เชื่อว่าใครหลายคนจะได้เห็นเรื่องราวทำนองนี้ ไม่ว่าจะเป็น
1. แหล่งข้อมูลตรวจสอบการหลบหนีมีมากขึ้น ทั้งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ข้อมูลแจ้งเบาะแส และข้อมูลภายนอก ที่ช่วยให้การตรวจสอบคนหนีภาษีนั้นเข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ
2. ระบบการตรวจสอบที่เจ้มจ้นจนต้องร้อง ได้แก่..
ระบบ RBA + Big DATA = ระบบการตรวจสอบที่มีหลักเกณฑ์ตามความเสี่ยงของธุรกิจ เชื่อมโยงข้อมูล BIG DATA และรอการพัฒนาเป็น AI ในอนาคต ทำให้กรมสรรพากรมีข้อมูลและแนวทางการตรวจสอบที่เป็นระบบมากขึ้น
ระบบคัดเลือกราย = รายเสี่ยงต้องโดนกรมสรรพากรตรวจสอบมากขึ้น เพราะมีเกณฑ์ในการคัดเลือกอยู่
การจัดกลุ่มผู้ประกอบการ = กลุ่มดี หรือ กลุ่มเสี่ยง คือคำตอบของการจัดการด้านภาษีที่เข้มข้น เพราะถ้าธุรกิจหรือบุคคลไหนอยู่ในกลุ่มเสี่ยง ย่อมมีโอกาสเสี่ยงโดนตรวจสอบมากขึ้นเช่นกัน
3. EPayment คือการรุกหนักผลักเข้าสู่ระบบ คั้งแต่สังคมไร้เงินสดพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ EFiling การยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต รวมถึง ETAX invoice / EWitholding TAX การพัฒนาระบบทั้งสองส่วนนี้จะช่วยให้ข้อมูลที่มีอยู่ในระบบมากขึ้นเช่นกัน แม้ว่าจะอยู่ระหว่างพัฒนา แต่ก็น่าจะมาเรื่อยๆ ตามสไตล์
4. กฎหมายออกใหม่ ตั้งแต่กำหนดให้ ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร หรือ สรรพากรตรวจสอบข้อมูลบัญชีธนาคาร สำหรับธุรกรรมลักษณะเฉพาะที่เข้าเงื่อนไข ทำให้กรมสรรพากรมีข้อมูลในการวิเคราะห์ได้ดีขึ้น ไปจนถึงการตรวจสอบดอกเบี้ยออมทรัพย์ ภาษี eservice ที่กำหนดให้หน่วยงานต่างประเทศต้องนำส่งข้อมูลลูกค้าให้กับสรรพากร
แม้ประเด็นนี้จะยังเห็นไม่ชัดว่ามีผลกระทบด้านภาษีมากแค่ไหน แต่ถ้าลองมองเชื่อมโยงกันได้ก็จะเห็นว่า ข้อมูลธุรกรรมต่างๆ เริ่มมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตเรามากขึ้น นี่คือสิ่งที่ต้องติดตามต่อไปครับ
ป.ล. คลิปนี้ชวนพูดคุยในส่วนประเด็นข้อ 4 เพื้อให้เห็นภาพที่มีผลกระทบกับเราทุกคนครับ
สารบัญคลิป
00:00 Intro
00:50 ทำไมต้องอวสานคนหนีภาษี ?
01:30 ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร
05:27 ธนาคารส่งข้อมูลดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์
07:53 eService ภาษีมูลค่าเพิ่ม
09:26 ลองคิดดูว่า จะเกิดอะไรขึ้น ?
10:29 เราควรทำอย่างไรดี?
ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ ภาษีอีเซอร์วิส

อวสานคนหนีภาษี ! เราจะเลี่ยงภาษีได้ยากขึ้นเพราะอะไร ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *