Home » บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร | ขาย ที่ดิน เสีย ภาษี อะไร บ้าง

บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร | ขาย ที่ดิน เสีย ภาษี อะไร บ้าง

บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สร้างขึ้นมาเพื่อแบ่งปันความรู้ด้านบัญชี ภาษี ประกันสังคม การจดทะเบียนการค้า การจดทะเบียนพาณิชย์ สอนการทำบัญชี ครอบคลุมทั้งระบบ

บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร

หนุ่มกรรชัยโมโห ลั่น!อย่าถ่อยในรายการนี้ EP1 #โหนกระแส


หนุ่มกรรชัยโมโห ลั่น!อย่าถ่อยในรายการนี้ EP1 #โหนกระแส

ค่าโอนที่สำนักงานที่ดิน|Meesara by Nong


ค่าโอนที่สำนักงานที่ดิน ตกลงให้ดีผู้ซื้อหรือผู้ขาย ใครเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย ซึ่งจะให้เคลียร์แจ้งไปเลยว่าค่าโอนประกอบไปด้วย ค่าธรรมเนียม, ค่าอากร ,ค่าภาษี ,ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ ทั้งหมดนี้ใครเป็นคนออก เพราะเวลาเห็นค่าโอนที่แพงแล้วอาจจะมีปัญหาตามมาทีหลัง

ค่าโอนที่สำนักงานที่ดิน|Meesara by Nong

ภาษีที่ดิน มีอะไรบ้าง? ต้องเสียภาษีเท่าไหร่? เสียภาษีที่ดินอย่างไรคุ้มค่าที่สุด? | FinFin Ep#6


ภาษีที่ดิน มีอะไรบ้าง? ต้องเสียภาษีเท่าไหร่?
วิธีเสียภาษีที่ดินให้คุ้มที่สุดมีวิธีการอย่างไรบ้าง
โดยเฉพาะช่วงนี้ หลายคนเริ่มได้เอกสารจากทางการ แล้งว่าที่ดินของเรา ถูกประเมินเป็นประเภทใด ซึ่งก็จะส่งผลโดยตรงกับการเสียภาษีที่ดินครับ
วิธีที่เราจะสามารถเลี่ยงการจ่าย หรือจ่ายภาษีที่ดินให้ถูกที่สุด ก็คือการทำความเข้าใจ และดำเนินการให้ถูกต้องนะครับ
ภาษีที่ดินมี 4 ประเภทคือ
ภาษีที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม
ภาษีที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย
ภาษีที่ดินเพื่อการพานิชยกรรม
ภาษีที่ดินเปล่า
เรามาดูอัตราการเสียภาษีที่ดินแต่ละประเภทกันครับ

ติดตามความรู้การเงินดีๆ ได้ตามช่องทางด้านล่าง
Youtube: https://www.youtube.com/channel/UCetO…
Facebook: https://www.facebook.com/FinFinChannel
Instagram: https://www.instagram.com/FinFinChannel
Twitter: https://www.twitter.com/FinFinChannel

Contact For Work:
020803924

ภาษีที่ดิน มีอะไรบ้าง? ต้องเสียภาษีเท่าไหร่? เสียภาษีที่ดินอย่างไรคุ้มค่าที่สุด? | FinFin Ep#6

ขายบ้านมีค่าใช้จ่าย มีภาษีอะไรต้องเสียบ้าง ?


ขายบ้านมีค่าใช้จ่าย มีภาษีอะไรต้องเสียบ้าง?
เวลาเราจะขายบ้านสัก 1 หลังสิ่งเนี่ย ทุกคนทราบกันไหมครับว่ามันไม่ใช่แค่การที่เราประกาศขายบ้าน พอมีคนซื้อ คนซื้อให้เงินเราแล้วจบแยกย้ายกันเลย ไม่ใช่แบบนั้นนะครับ
ในขั้นตอนการขานบ้านครับจะมี ทั้งค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่าย รวมถึงภาษีที่เราจะต้องจ่ายด้วยนะครับ ซึ่งผมต้องบอกเลยนะครับว่าเงินในจำนวนนี้เนี่ยก็มากพอสมควรเลยนะครับ ซึ่งะมากจะน้อยแค่ไหนอันนี้ขึ้นอยู่กับ ทรัพย์ที่เราทำการซื้อขายกัน แต่ประเด็นที่สำคัญที่สุดเลยคือถ้าเราไม่ได้เคยคิดคำนวนค่าใช้จ่ายพวกนี้ไว้ หรือเผื่อเงินในส่วนนี้ไว้ บางทีอาจทำให้เราขายบ้านแล้วได้เงินไม่ตรงตามที่เราคาดไว้ก็ได้ะนครับ
โดยส่วนตัวผมเลยคิดว่า เป็นเรื่องที่จำเป็นมากๆครับ สำหรับคนที่กำลังจะกลับบ้านทุกคนควรจะวางแผนคำนวณค่าใช้จ่ายต่างๆให้เรียบร้อยก่อนซึ่งในคลิปนี้ครับผมจะมาเล่าให้ทุกคนฟังคำว่ามันมีค่าใช้จ่ายกี่ตัวกันแน่แต่ละตัวคิดคำนวณกันยังไงนะครับ

ค่าใช้จ่ายหลักๆที่เราจะต้องเสียครับเราจะไปเสียในกระบวนการที่เราไปโอนกรรมสิทธิ์ณสำนักงานที่ดินกันครับ นั่นก็คือ process สุดท้ายแล้วครับที่เราจะเปลี่ยนชื่อในหลังโฉนดจากของเราให้เป็นของผู้ซื้อคนใหม่ครับ ซึ่งการทำธุรกรรมที่สำนักงานที่ดินจะมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นครับ หรือที่เราคุ้นกันในชื่อ ค่าโอน ประมานนี้ครับ

แล้วคำถามคืออ่าวนอกเหนือจากค่าโอนมีค่าอื่นอีกด้วยหรอเพราะเมื่อกี้เห็นบอกว่ามีตั้งหลายตัวใช่ครับนอกเหนือจากค่าโอนอีกหลายตัวเลยครับ

1.ค่าธรรมเนียมการโอน
2.ค่าอากรณ์แสตมป์
3.ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
4.ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย

จะมี 4 ตัวนี้เป็นหลักเลยนะครับแต่ถึงบอกว่ามี 4 ตัวครับแต่เอาเรื่องจริงเราจะจ่ายแค่ 3 ตัวเท่านั้นครับคือในส่วนของค่าอากรแสตมป์กับค่าภาษีธุรกิจเฉพาะครับเราเลือกจ่ายตัวใดตัวหนึ่งครับถ้าจ่ายตัวนึงแล้วอีกตัวก็ไม่ต้องจ่ายซึ่ง Detail ว่าแต่ละตัวมีเงื่อนไขยังไงต้องจ่ายเท่าไหร่บ้างนะเดี๋ยวจะเล่าให้ฟังคลิปนี้ล่ะครับอย่างละเอียดเลย

1.ค่าธรรมเนียมการโอน 2% จากราคาประเมิณ
ตัวแรกครับคือค่าธรรมเนียมการโอนหรือที่เราเรียกกันว่าค่าโอนนะครับถ้าโอนได้จะคิดอยู่ที่ 2 เปอร์เซ็นต์ครับจากราคาประเมินนะฮะดังนั้นครับราคาประเมินเท่าไหร่เอา 2 เปอร์เซ็นต์เข้าไปคืนครับนั่นเป็นค่าใช้จ่ายที่เราต้องจ่ายครับซึ่งจริงๆแล้วครับตามกฎหมายนะครับค่าค่าโอนเนี่ยคนที่มีหน้าที่ต้องรับผิดชอบครับคือผู้ซื้อและผู้ขายรับผิดชอบกันคนละครึ่งนั่นก็คือคนละ 1% นั้นเองครับแต่ต้องบอกนี้ว่าทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับการตกลงกันระหว่างเรากับผู้ซื้อด้วยนะครับสมมุติถ้าเราขายครับเดี๋ยวลดราคาให้เขาไปแล้วเนี่ยและเราไม่อยากจะออกค่าโอนแล้วครับเราสามารถระบุไว้ในสัญญาจะซื้อจะขายได้เลยนะครับว่าเราจะไม่ออกค่าโอนนะครับถ้าโอนเป็นหน้าที่ของผู้ซื้อแต่เพียงผู้เดียวแบบนี้เราก็สามารถกำหนดได้ครับ

2.ค่าอากรณ์แสตมป์
3.ภาษีธุรกิจเฉพาะ
อากรณ์แสตมป์ 0.5% จากราคาประเมินหรือราคาซื้อขาย
ภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.3% จากราคาประเมินหรือราคาซื้อขาย

ตัวที่ 2 นี้จะมาเป็นแพ็คคู่กันนะครับนั่นก็คือภาษีธุรกิจเฉพาะแล้วก็ค่าอากรแสตมป์ครับอย่างที่บอกไปนะครับว่า 2 ตัวนี้จ่ายตัวใดตัวหนึ่งเท่านั้นครับจ่ายตัวนึงแล้วอีกตัวนึงก็ไม่ต้องจ่ายครับดังนั้นครับมันก็จะมีเกณฑ์อยู่นะครับว่า
1.เรามีชื่อในทะเบียนบ้านครบ 1 ปีไหม
2.เราเป็นเจ้าของโฉนดมาครบ 5 ปี ปฎิทินไหม

ซึ่งจะเป็น 2 ข้อข้างบนนี้ครับถ้าเราเข้าตามเกณฑ์ตัวใดตัวหนึ่งครับเราจะเสียแค่ค่าอากรแสตมป์ 0.5 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นครับก็คือถูกมากๆนะ

แต่ถ้าเกิดว่าเราไม่เข้าเกมนี้นะครับเลยเนี่ยเราก็จะต้องไปจ่ายเป็นค่าภาษีธุรกิจเฉพาะแทนครับ 3.3% นะครับ

สังเกตเห็นไหมครับว่า 2 ตัวนี้นะฮะค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายเบี้ยประกันมหาศาลมากๆดังนั้นครับสำหรับคนที่เพิ่งซื้อบ้านมาทุกคนนะครับที่ผมอยากจะแนะนำมากๆว่าให้รีบนะครับย้ายชื่อเข้ามาในทะเบียนบ้านเลยนะครับเพราะครบ 1 ปีแล้วเนี่ยเวลาเราขายเราก็จะได้ไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะนะครับที่มัน 3.3% เนี่ยมันก็เป็นเงินที่เยอะมากๆนะ
ผมเพิ่มเติมตรงนี้ให้นิดนึงนะครับในเคสนี้คือเคสกู้คนเดียวนะครับในเคสที่สามารถเอาชื่อไว้ในทะเบียนบ้านครบ 1 ปีแล้วจะไม่เสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ แต่ถ้าเป็นการกู้ร่วมครับเราจะต้องถือครองบ้านให้ครบ 5 ปีเท่านั้นนะครับถึงจะไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะจะใช้เกณฑ์การเอาชื่อเข้าทะเบียนบ้านไม่ได้เพราะเป็นการกู้ 2 คนนะครับอันนี้เป็นเรื่องที่ฝากโน๊ตไว้นะครับ

4. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
สุดท้ายครับการที่เราขายบ้านได้เนี่ยหมายความว่าเรามีรายได้ใช่ไหมครับและเมื่อเรามีรายได้ครับเราก็มีหน้าที่จะต้องเสียภาษีให้กับทางรัฐบาลนะครับดังนั้นก็จะมีค่าใช้จ่ายสูงสุดท้ายครับคืนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายครับ
ซึ่งการคำนวณตัวนี้ใช้ตัวแปร 2 ตัวในการมาคิดคำนวณภาษีให้เราครับ
1.ราคาประเมิน
2.ปีที่ถือครอง (คิดแบบขั้นบันได)
ขายบ้าน ค่าใช้จ่ายขายบ้าน ภาษีขายบ้าน ขายบ้าน ค่าโอน

ขายบ้านมีค่าใช้จ่าย มีภาษีอะไรต้องเสียบ้าง ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *