Home » ทำไม?คอร์ส FB Ads จึงมีราคาแพง?เขาใช้เกณฑ์อะไรในการตั้งราคา+พูดคุยหนุกๆ | หนังสือเลิกจ้าง ปิดกิจการ

ทำไม?คอร์ส FB Ads จึงมีราคาแพง?เขาใช้เกณฑ์อะไรในการตั้งราคา+พูดคุยหนุกๆ | หนังสือเลิกจ้าง ปิดกิจการ

ทำไม?คอร์ส FB Ads จึงมีราคาแพง?เขาใช้เกณฑ์อะไรในการตั้งราคา+พูดคุยหนุกๆ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

แสดงความคิดเห็นกันอย่างสุภาพ+มีเหตุผลนะครับ 🙂

ทำไม?คอร์ส FB Ads จึงมีราคาแพง?เขาใช้เกณฑ์อะไรในการตั้งราคา+พูดคุยหนุกๆ

วิธีลงทะเบียนว่างงาน ตกงาน ถูกเลิกจ้าง และ วิธีกรอกเอกสาร สปส 2-01/7 ในการขอรับเงิน กรณีว่างงาน


วิธีลงทะเบียนว่างงานตกงานถูกเลิกจ้างsso connect
ในคลิปนี้ผมจะมาแนนำวิธีกรอกเอกสาร สปส 201/7 ซึ่งเป็นเอกสารสำคัญที่จะใช้ในการขอรับเงินชดเชยกรณีว่างงาน และ ถูกเลิดจ้าง พร้อมแล้วเรามาดูกันเลยครับ
คำอธิบายเพิ่มเติม
คลิปนี้จัดทำในลักษณะคำบรรยายซึ่งคำศัพท์ที่ใช้อาจจะไม่ได้ตรงตามข้อกฎหมายที่เขียนไว้ในพรบ.ประกันสังคม เช่นคำว่า เงินเดืิอน คือค่าจ้าง ตาม พรบ.ประกันสังคม เป็นต้น และการยกตัวอย่างเป็นการยกตัวอย่างจากส่วนหนึ่งของพรบซึ่งไม่ได้ยกมาทั้งหมดเพื่อให้คลิปนี้มีความกระชับโปรดใช้ดุลพินิจในการรับชม
หากท่านมีข้อสงสัยเพิ่มเติมสามารถสอบถามได้ตามด้านล่างคลิปเลยครับ

วิธีลงทะเบียนว่างงาน ตกงาน ถูกเลิกจ้าง และ วิธีกรอกเอกสาร สปส 2-01/7 ในการขอรับเงิน กรณีว่างงาน

บริษัทจะเลิกจ้างพนักงานอย่างไร ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย [ EP2 ] โดย อ.ปนิธิ ศิริเขต


จะเลิกจ้างพนักงานอย่างไร ไม่ให้ถูกฟ้อง!!
บางองค์กรอาจเคยประสบปัญหานี้ ที่พนักงานทำผิด บริษัทจึงเลิกจ้าง
แต่พนักงานกลับฟ้องบริษัทว่าถูกเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
มาศึกษากันกับคลิปนี้ EP2 บริษัทจะเลิกจ้างพนักงานอย่างไร ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
โดย อ.ปนิธิ ศิริเขต นักวิชาการอิสระด้านกฎหมายแรงงาน
ว่าจะมีทางออกอย่างไรได้บ้าง ที่บริษัทสามารถเลิกจ้างพนักงานที่ทำผิด โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยใดๆ
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม\r
โทร. 02 349 1788, 083 276 8877, 080 620 8877\r
Email: [email protected]

บริษัทจะเลิกจ้างพนักงานอย่างไร ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย [ EP2 ] โดย อ.ปนิธิ ศิริเขต

ลูกจ้างต้องได้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง #สิทธิลูกจ้าง #ค่าชดเชย #กฎหมายแรงงาน #เลิกจ้าง #mfinance


ลูกจ้างต้องรู้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง สิทธิลูกจ้าง ค่าชดเชย กฎหมายแรงงาน เลิกจ้าง mfinance ช่องเอ็ม mfoodtv นายจ้าง กระทรวงแรงงาน ประกันสังคม จัดหางาน
เครดิตข้อมูล : กระทรวงแรงงาน, ธรรมนิติ
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าชดเชย
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 118 ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้าง ดังต่อไปนี้
1) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่ำจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 30 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
2) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่ำจ้างของการทำงาน 90 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
3) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 180 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
4) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 240 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 240 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
5) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 300 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 300 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
6) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 20 ปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400
วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของกการทำงาน 400 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

ลูกจ้างต้องได้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง #สิทธิลูกจ้าง #ค่าชดเชย #กฎหมายแรงงาน #เลิกจ้าง #mfinance

#ลาออกงาน แต่ไม่ได้เขียนใบลาออก ไม่แจ้งล่วงหน้า มีสิทธิได้รับค่าจ้างหรือไม่? แล้วจะได้เมื่อไหร่?


ลูกจ้างหลายคนคงเคยเจอปัญหา ต้องออกจากงานโดยด่วน แบบไม่ได้เขียนใบลาออก หรือไม่ได้แจ้งล่วงหน้า หรือแจ้งล่วงหน้าน้อยกว่าระยะเวลาที่นายจ้างกำหนดไว้ แล้วนายจ้างจะไม่จ่ายค่าจ้าง ซึ่งจริงเรื่องนี้มีกฎหมายกำหนดไว้แล้ว เดี๋ยวผมจะมาคลายข้อสงสัยให้กับทุกท่านเอง

#ลาออกงาน แต่ไม่ได้เขียนใบลาออก ไม่แจ้งล่วงหน้า มีสิทธิได้รับค่าจ้างหรือไม่? แล้วจะได้เมื่อไหร่?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *