Home » ดูไว้ไม่ขาดทุน ค่าใช้จ่ายวันโอน บ้าน ที่ดิน ที่หลายคนไม่รู้!! | ค่าโอนบ้าน 2561

ดูไว้ไม่ขาดทุน ค่าใช้จ่ายวันโอน บ้าน ที่ดิน ที่หลายคนไม่รู้!! | ค่าโอนบ้าน 2561

ดูไว้ไม่ขาดทุน ค่าใช้จ่ายวันโอน บ้าน ที่ดิน ที่หลายคนไม่รู้!!


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ชอบมาก และ อยากเลี้ยงกาแฟผม : https://kofi.com/kimpropertylive
★☆★ เรียนรู้เพิ่มเติม ★☆★
บทความอสังหา : http://www.properth.com/
รับความรู้ฟรี ทุกอาทิตย์ ผ่าน LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x ดูไว้ไม่ขาดทุน ค่าใช้จ่ายวันโอน บ้าน ที่ดิน ที่หลายคนไม่รู้!!
เนื้อหา
1. ค่าใช้จ่ายกับธนาคาร
2. ค่าใช้จ่ายกับกรมที่ดิน
3. ค่าใช้จ่ายกับโครงการ
4. ค่าภาษีเงินได้
5. ภาษีธุรกิจเฉพาะ
6. ค่าโอนที่ดิน
7. ค่าส่วนกลาง
ผมตั้งใจทำ vdo ชุดนี้เพื่อ ผู้ที่สนใจอสังหา เเละ อยากเริ่มต้นลงทุนอสังหา
เช่น บ้านเช่า คอนโดให้เช่า หรือ อพาทเม้น
สามารถเข้ามาเรียนรู้ได้ฟรี โดยไม่มีค่าใช้จ่ายครับ
ผมอยากให้ทุกคน มีฐานะทางการเงินที่ดีขึ้น
เเละ ความรู้ทางการเงิน จะทำให้คุณสามารถสร้างความมั่งคั่งด้วยตัวเองได้ครับ
ดูเเล้วชอบ อยากดูต่อ ติดตามด้วยเน้อ
ตรงนี้ ตรงนี้
https://goo.gl/segwTS
รับความรู้ฟรี
LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x
Facebook FanPage : https://www.facebook.com/kim.properth/
สำหรับติดต่อ : kim.chatchawan[at]gmail.com
สนใจสัมมนา
LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x ความรู้การเงิน การลงทุน

ดูไว้ไม่ขาดทุน ค่าใช้จ่ายวันโอน บ้าน ที่ดิน ที่หลายคนไม่รู้!!

จะซื้อขายบ้านขายที่ดินต้องจ่ายค่าอะไรบ้าง ภาษีค่าโอนค่าธรรมเนียมที่ต้องจ่าย


วันนี้ผมก็จะมาตอบคำถามที่ทุกคนถามกันเข้ามาเยอะนะครับ
ค่าภาษีค่าธรรมเนียมต่างๆในการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์มีอะไรบ้าง
สนใจคอร์ส เริ่มต้นสร้างบ้านขาย คลิกลิงค์นี้
ทักแชทบอกแอดมินว่าสนใจเรียน พร้อมรับสิทธิ์ 4,900 บาท ได้เลยครับ
https://www.facebook.com/อสังหาแบบฉบับมนุษย์เงินเดือนbyNaraichong108180924303202/

จะซื้อขายบ้านขายที่ดินต้องจ่ายค่าอะไรบ้าง ภาษีค่าโอนค่าธรรมเนียมที่ต้องจ่าย

ซื้อขายบ้าน วันโอนที่กรมที่ดิน เตรียมเงินเตรียมเช็ค จ่ายกันยังไง?


สำหรับคนที่มีปัญหา กู้เงินซื้อบ้านไม่ผ่าน ขอสินเชื่อกับ ธนาคารไม่ผ่าน แบงก์ ไม่อนุมัติ หรือ ท่านที่เคยมีปัญหาติดเครดิตบูโร และได้ปิดหนี้ไปแล้ว แต่ก็ยังยื่นขอสินเชื่อไม่ผ่าน
จากประสบการณ์กว่า 20 ปี ในตำแหน่ง วิเคราะห์สินเชื่อ จากสถาบันการเงินชั้นนำหลายๆ แห่ง ผมทำงานมาหลายแบงก์ครับ และสายสัมพันธ์ ทั้งเพื่อนร่วมงานเก่า และเจ้านายเก่าๆ ของผม ที่ผมมีคอนเนคชั่นกันอย่างลึกซึ้ง ผมยินดีที่จะแนะนำ ทริค และเทคนิค วิธีการต่างๆ ในการกู้เงินซื้อบ้าน วิธีขอสินเชื่อให้ผ่าน แบงก์ไหน ธนาคารไหน ปล่อยง่าย เทคนิควิธีการเดินบัญชี ทำยังไงให้กู้บ้านผ่าน เทคนิคการซื้อบ้านแล้วมีเงินเหลือ เทคนิคการดันราคาประเมินบ้าน ต่างๆ เหล่านี้ ผมพร้อมที่จะสอนและแนะนำ จาก ความรู้ และประสบการณ์กว่า 20 ปี ของผม
อะไรบ้างที่คุณจะได้จากผม
1. เทคนิค และวิธีการการเตรียมเอกสาร
2. เทคนิค และวิธีการเจรจา และนำเสนอข้อมูลต่อเจ้าหน้าที่สินเชื่อของธนาคาร อันนี้สำคัญมากนะครับ
3. และในปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่าง ขั้นตอนการยื่นเรื่อง ติดต่อประสานงานกันได้ตลอดเวลาครับ
ให้ท่านติดต่อ เข้ามาที่ LineID : @antonio ( ใส่เครื่องหมาย @ ด้วยนะครับ ) เพื่อนัดหมาย เวลาและสถานที่ ในการให้คำแนะนำด้านการเตรียมเอกสารและเทคนิควิธีการยื่นกู้ ขอสินเชื่อบ้าน โดยคิดอัตราค่าบริการ ให้คำปรึกษา 2,000 บาท ไม่มีกำหนดเวลาสอบถามได้ ตลอดเวลา หลังจากสอนกันครั้งแรกแล้วครับ
สถานที่นัดหมาย
The Wisdom Lounge ของ KBank ธนาคาร กสิกรไทย จำกัด
1. Kbank สาขา เซ็นทรัลบางนา
2. Kbank สาขา ซีคอนสแควร์
3. Kbank สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
หรือที่ร้าน Starbucks
1. ร้าน สตาร์บัค สาขา สมิติเวช ศรีนครินทร์
2. ร้าน สตาร์บัค สาขา ซีคอนสแควร์
3. ร้าน สตาร์บัค สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
4. ร้าน สตาร์บัค สาขา ธัญญา พาร์ค
5. ร้าน สตาร์บัค สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
6. ร้าน สตาร์บัค สาขา เดอะมอลล์ บางกะปิ
7. ร้าน สตาร์บัค สาขา เดอะ นายน์ พระรามเก้า
8. ร้าน สตาร์บัค สาขา เซ็นทรัล บางนา
หรือ อีกหนึ่งรูปแบบ เพียงแค่ท่าน ชำระเงิน จำนวน 1,000 บาท มาที่
SCB ธนาคาร ไทยพาณิชย์ เลขที่บัญชี 407 0 55631 0
KBank ธนาคาร กสิกรไทย เลขที่บัญชี 766 2 21897 3
ชื่อบัญชี Yuttana Kosakul
แล้ว ส่งข้อความมาที่ Line ID : @antonio ( ใส่เครื่องหมาย @ ด้วยนะครับ ) แล้วนัดเวลาที่คุณสะดวก เพื่อโทรคุยกันอีกทีครับ
ผมเป็นเจ้าของ เวปไซต์ http://antonioattorney.blogspot.com และ
เวปไซต์ http://antonioattorney.com และเพจนี้ https://www.facebook.com/CloseDealRealty ครับ
ลองดูโปรไฟล์ต่างๆ ของผม เพื่อการตัดสินใจของคุณครับ ผมรอคุณอยู่ครับ เพื่อที่จะได้แนะนำ เทคนิค วิธีการต่างๆ ให้คุณได้สำเร็จ และสมหวัง ในการที่ จะยื่นกู้ซื้อบ้านให้ผ่าน สมหวัง ตามความฝันของทุกๆ คนที่อยากจะมีบ้านกันนะครับ

ซื้อขายบ้าน วันโอนที่กรมที่ดิน เตรียมเงินเตรียมเช็ค จ่ายกันยังไง?

สรุปจบในคลิปเดียว ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าโอนคอนโด ค่าใช้จ่ายในการโอนบ้านกรมที่ดิน | Guru Living


สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาคุยกันในอีกหนึ่งหัวข้อที่ได้รับความสนใจกันเป็นอย่างมากนะครับว่าการที่เราไปโอนบ้าน คอนโด หรือที่ดิน ณ กรมที่ดินเนี่ยเราจะมีค่าใช้จ่ายอะไรที่เราต้องเสียบ้างในฐานะทั้งเราเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็ตาม วันนี้ผมจะมาอธิบายค่าใช้จ่ายทุกๆอย่างโดยละเอียดเลยครับ

ก่อนอื่นเลยค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดินหากว่าเรามีการซื้อขาย บ้าน คอนโด หรือที่ดินกันจะมี 5 ตัวหลักๆครับคือ
1. ค่าธรรมเนียมการโอน
2. ค่าจดจำนอง
3. ค่าอากรแสตมป์
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
5.ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

1. ค่าธรรมเนียมการโอน
ค่าธรรมเนียมการโอนโดยปรกติแล้วจะคิดเท่ากับ 2% ของราคาประเมินกรมที่ดิน โดยต้องไม่สับสนกับราคาขาย และ ราคาประเมิณของธนาคารนะครับเป็นคนละตัวกัน ราคาประเมิณกรมที่ดินจะถูกประเมิณโดยอาศัยเกณของกรมที่ดินครับ ซึ่งโดยปรกติทั่วๆไปแล้วราคาจะต่ำกว่าทั้ง ราคาซื้อขาย และ ราคาประเมิณธนาคารครับ
(รัฐบาลได้มีการลดค่าธรรมเนียมจาก 2% เป็น 0.01% เฉพาะการซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ในวงเงินไม่เกิน 3 ล้านบาท จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2563 เท่านั้น)

2. ค่าจดจำนอง
กรณีซื้อขาย โดยจดจำนอง(กู้สินเชื่อธนาคาร) จะต้องมีการเสียค่าจดจำนองด้วยครับ โดยคิด 1% ของมูลค่าจำนอง พูดง่ายๆคือ 1% ของเงินที่เราไปกู้ธนาคารมาครับ ยกตัวอย่างเช่น เรากู้เงินธนาคาร 2.5 ล้านบ้าท ค่าจดจำนองจะคิด 1% ของ 2.5 ล้าน ได้ออกมาคือ 25,000 บาทครับ

แต่ในปี 2562 นี้ได้มีการปรับลดค่าจดจำนองลงเหลือ 0.01% เฉพาะกรณีที่มีการจำนองกับสถาบันการเงิน ในราคาซื้อขายและวงเงินจำนอง ไม่เกิน 3 ล้านบาท ตามนโยบายกระตุ้นการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาล จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2563 ซึ่งหากมูลค่าการซื้อขายมากกว่า 3 ล้านบาท ค่าจดจำนองยังคงคิด 1% ตามเดิม ทั้งนี้ การจดทะเบียนการโอนและการจดจำนอง ต้องดำเนินการในคราวเดียวกัน

3. ค่าอากรแสตมป์
กรณีซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ไม่ว่าจะเป็น บ้านเดี่ยว คอนโดมิเนียม ทาวน์เฮ้าส์ หากผู้ขายเป็นบุคคลธรรมดา แล้วมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเกิน 1 ปี หรือถือครองมาครบ 5 ปี จะต้องเสียค่าอากรแสตมป์ โดยมีอัตราคิดเป็น 0.5%ของราคาประเมิณกรมที่ดินครับ

เช่น หากบ้านมีราคาประเมิน 1.8 ล้านบาท แต่ราคาซื้อขาย อยู่ที่ 2 ล้านบาท ให้ยึดราคาซื้อขายเป็นเกณฑ์
2,000,000 x 0.5% = เสียค่าอากรแสตมป์ 10,000 บาท
โดยหากเสียค่าอากรแสตมป์แล้ว ไม่ต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะอีก
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
เมื่อเราขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยการซื้อขาย หรือ ได้รับเป็นมรดก จะต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยคิดเป็น 3.3% ของราคาขายหรือราคาประเมินทุนทรัพย์ แล้วแต่ราคาไหนที่สูงกว่า ยกเว้นแต่ ถ้าเราถือครองที่ดินเกิน 5 ปี หรือมีชื่อในทะเบียนบ้านเกิน 1 ปี ค่าภาษีธุรกิจจำเพาะจะถูกยกเว้นครับ
เช่น หากบ้านมีราคาประเมิน 1.8 ล้านบาท แต่ราคาซื้อขาย อยู่ที่ 2 ล้านบาท ให้ยึดราคาซื้อขายเป็นเกณฑ์
2,000,000 x 3.3% = เสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 66,000 บาท

5. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย
สำหรับผู้ขาย เมื่อขายอสังหาริมทรัพย์แล้วจะมีค่าใช้จ่ายอีกตัวนึงที่ตามมาครับ แต่ถ้าหากเราเป็นผู้ซื้อค่าใช้จ่ายนี้ไม่เกี่ยวข้องกับเรานะครับ ค่าใช้จ่ายตัวนี้คือ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเกณในการเรียกเก็บจะคิดจากราคาประเมินที่ดิน หักค่าใช้จ่ายตามอัตราที่กำหนด หารปีที่ถือครอง คูณอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ถ้าจนถึงตอนนี้ใครยังงงอยู่ไม่เป็นไรนะครับ เพราะสุดท้ายตัวเลขพวกนี้กรมที่ดินเขาจะคิดคำนวนออกมาให้เราครับ เพียงแต่ว่าถ้าเราสามารถคำนวนตัวเลขเหล่านี้ได้ก่อน จะทำให้เราสามารถรู้รายจ่ายที่กำลังจะเกิดขึ้น พร้อมเตรียมรับมือ วางแผนหารายได้มารองรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้ครับ
ค่าโอน ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าธรรมเนียมการโอน โอนบ้าน โอนที่ โอนที่ดิน ค่าธรรมเนียมการโอนที่ดิน ค่าธรรมเนียมโอนที่ดิน ค่าจดจำนอง ค่าอากรแสตมป์ ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีขายบ้าน

สรุปจบในคลิปเดียว ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าโอนคอนโด  ค่าใช้จ่ายในการโอนบ้านกรมที่ดิน | Guru Living

เตรียมความพร้อม ก่อนไปโอนที่ดิน


ขอบคุณครับสำหรับการรับชมคลิปวีดีโอ
สามารถติดตามและให้กำลังใจได้ที่
Facebook : https://www.facebook.com/cmoneyinvestment/
Youtube : https://www.youtube.com/channel/UCz4AadpJqUcfPfKI3jrGGTQ?disable_polymer=true
ติดต่อได้ที่
Tel : 0844796405
Line ID : tancs2499
Email : [email protected]

เตรียมความพร้อม ก่อนไปโอนที่ดิน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *