Home » ดูดวงราศีกรกฎ ธันวาคม 2564 เดือนที่ทรงพลัง พร้อมเดินหน้าสู่ความเปลี่ยนแปลงอย่างเด็ดเดี่ยว | ประกัน สังคม หลัง เกษียณ

ดูดวงราศีกรกฎ ธันวาคม 2564 เดือนที่ทรงพลัง พร้อมเดินหน้าสู่ความเปลี่ยนแปลงอย่างเด็ดเดี่ยว | ประกัน สังคม หลัง เกษียณ

ดูดวงราศีกรกฎ ธันวาคม 2564 เดือนที่ทรงพลัง พร้อมเดินหน้าสู่ความเปลี่ยนแปลงอย่างเด็ดเดี่ยว


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ชาวราศีกรกฎในดือน ธ.ค. 2564 จะมีความชัดเจนและแน่วแน่มากขึ้นในเป้าหมายที่ได้ตัดสินใจ เต็มเปี่ยมไปด้วยพลังที่พร้อมจะเปลี่ยนแปลงไปสู่อนาคตที่ใฝ่ฝัน
ชาวราศีกรกฎในที่นี้ หมายถึงคนที่มีลัคนาอยู่ราศีกรกฎ
ถ้าไม่ทราบลัคนา ดูตามราศีของวันเกิดได้ตามปกติที่เคยดูค่ะ

สารบัญ
0:00 อธิบายการเลือกดูคลิป ข้ามได้
00:50 ภาพรวม
07:22 สัปดาห์ที่ 1
16:27 สัปดาห์ที่ 2
25:24 สัปดาห์ที่ 3
32:42 สัปดาห์ที่ 4
41:10 คำแนะนำจากไพ่

คลิปครึ่งปีหลัง 2564 การงาน การเงิน ราศีกรกฎ
https://youtu.be/5zZm5YNhgvs
คลิปครึ่งปีหลัง 2564 ความรัก ราศีกรกฎ
https://youtu.be/Q7_ggYS8bdU

ขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาชมนะคะ รินจะอ่านไพ่ทาโรต์ดูดวงรายเดือนสำหรับแต่ละราศีเดือนละ 1 ครั้ง อย่าลืมแวะมาอัพเดทกันนะคะ
การดูดวงสามารถให้สิ่งดีๆกับชีวิตของเราได้มากมาย ถ้ารู้จักเลือกเอาข้อคิดและคำแนะนำที่มีประโยชน์จากไพ่ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันนะคะ สิ่งใดที่ฟังแล้วไม่ให้ความรู้สึกที่ดี ขอให้ปล่อยผ่านไป เก็บไปใส่ใจเฉพาะสิ่งที่ไพ่ให้คำแนะนำ ถ้าฟังแล้วรู้สึกว่ามันตรงกับอุปนิสัยหรือลักษณะความคิดของเรา
ขอให้ทุกท่านที่แวะมาฟังโชคดี มีพลังงานบวกพร้อมเปิดรับสิ่งดีๆที่กำลังจะเดินทางมาถึง ขอให้มีความสุขในทุกๆวัน และขอให้สนุกสนานกับการท่องไปในโลกของไพ่สวยๆที่มีเรื่องราวดีๆมาบอกเล่าให้เราฟังนะคะ
เฟสบุ๊ค
https://www.facebook.com/thecatastro
อินสตาแกรม
https://www.instagram.com/rinrin88388/
ไลน์สำหรับดูดวงส่วนตัว
https://lin.ee/1j85scE

ดูดวงราศีกรกฎ ธันวาคม 2564 เดือนที่ทรงพลัง พร้อมเดินหน้าสู่ความเปลี่ยนแปลงอย่างเด็ดเดี่ยว

Ep.87 | วิธีเปลี่ยนโรงพยาบาลประกันสังคมประจำปี 64 ด้วยแอพพลิเคชั่นบนมือถือ SSoConnect | by HR_พี่โล่


Ep.87 | วิธีเปลี่ยนโรงพยาบาลประกันสังคมประจำปี ด้วย Application SSo Connect บนมือถือ | by HR_พี่โล่
📣สำนักงานประกันสังคมได้เปิดโอกาสให้ผู้ประกันตนยื่นเปลี่ยนสถานพยาบาลประจำปี 2564 ได้แล้ว โดยสามารถยื่นผ่าน 3 ช่องทางด้วยกันคือ
1. ยื่นแบบการเลือกสถานพยาบาลในรับบริการทางแพทย์ (สปส.9.02) ได้ที่สำนักงานประกันสังคมทุกแห่งทั่วประเทศ
2. ทำรายการผ่าน www.sso.go.th
3. ทำรายการผ่าน Application SSo Connect
ได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2564
📌โดยการยื่นเอกสารจะมีผลการใช้สิทธิดังนี้
ยื่นระหว่าง วันที่ 115 ของเดือน สิทธิจะเกิดวันที่ 16 ของเดือนเดียวกัน
ยื่นระหว่าง วันที่ 16 ถึงสิ้นเดือน สิทธิจะเกิดในวันที่ 1 ของเดือนถัดไป
เปลี่ยนโรงพยาบาลประจำปี ประกันสังคม Hrพี่โล่

Ep.87 | วิธีเปลี่ยนโรงพยาบาลประกันสังคมประจำปี 64 ด้วยแอพพลิเคชั่นบนมือถือ SSoConnect | by HR_พี่โล่

#ประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุ#ย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!


สำหรับผู้ประกันตนไม่ว่าจะเป็นแรงงานไทย แรงงานต่างด้าว พม่า ลาว กัมพูชา หรือชาติอื่นที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม นำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมทุกเดือน เกษียนแล้วอย่าลืมรับสิทธิ์ กรณีเกณียนที่สำนักงานประกันสังคม ต้องทำอย่างไรบ้าง หากทำเรื่องแล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าจะได้รับเงินเท่าไหร่ ประมาณกี่วันถึงจะได้รับเงินเกษียณ มีคำตอบทุกประเด็นสงสัยประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!ประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!

#ประกันสังคมคืนเงินเกษียณอายุ#ย้ำเตือน! อย่าลืม! เกษียณแล้วขอคืนเงินประกันสังคม ได้เต็มจำนวน รู้ยัง!

EP.5 บำเหน็จบำนาญปกติ


ต้องรับราชการนานเท่าไรจึงจะรับบำนาญได้

EP.5 บำเหน็จบำนาญปกติ

เปิดสิทธิประโยชน์ มนุษย์เงินเดือน-ข้าราชการ หลังเกษียณ ได้เงินอะไรบ้าง? #รอดไปด้วยกัน


เข้าสู่เทศกาลงานเกษียณกันแล้ว โดยเมื่อวานนี้ 30 กันยายน 2563 ถือเป็นวันทำงานวันสุดท้ายของหลายๆคน โดยเฉพาะเหล่าข้าราชการที่มีอายุ 60 ปี ที่ได้เวลาพักผ่อนหลังทำงานมาตลอดชีวิต ซึ่งข้าราชการไม่ว่าจะตำแหน่ง หรือทำงานที่ส่วนราชการใด ก็จะได้รับสิทธิและประโยชน์ตอบแทน ทั้งในระหว่างรับราชการอยู่, เมื่อออกจากราชการแล้ว ไปจนถึงการช่วยเหลือเมื่อเสียชีวิต
โดยสิทธิประโยชน์สำหรับข้าราชการวัยเกษียณ อาทิ เงินบำเหน็จ, เงินบำนาญ, เงินกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ, เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล และหากเสียชีวิตก็จะได้ เงินฌาปนกิจสงเคราะห์, เงินบำเหน็จตกทอด, การขอพระราชทานเพลิงศพ, น้ำหลวงอาบศพ เป็นต้น
มาเจาะดูในส่วนของเงินที่ชาวเกษียณจะได้รับ หลักๆเลยจะเป็นเงินบำเหน็จ เงินบำนาญ แบบไม่ได้เป็นสมาชิก กบข.(กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ) สรุปง่ายๆ คือ
บำเหน็จ (รับก้อนเดียว) = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x อายุราชการ เช่น เงินเดือนเดือนสุดท้าย 50,000 บาท อายุราชการ 35 ปี จะได้รับบำเหน็จ 1,750,000 บาท
บำนาญ (รับรายเดือนไปจนกว่าจะเสียชีวิต) = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x อายุราชการ ÷ 50 เช่น เงินเดือนเดือนสุดท้าย 50,000 บาท อายุราชการ 35 ปี นํามาคํานวณได้ (50,000 x 35) ÷ 50 = 35,000 บาทต่อเดือน
แต่หากเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) ที่ต้องส่งเงินสะสมทุกเดือนในอัตรา 3% ของเงินเดือน และรัฐบาลจะสมทบให้อีก 3% เหมือนเป็นการออมเงินที่ช่วยให้ข้าราชการมีเงินออมก้อนใหญ่อีกก้อนหนึ่งไว้ใช้ในยามเกษียณ นอกเหนือจากเงินบำเหน็จ บำนาญ ซึ่งการคิดเงินบำเหน็จ บำนาญ ของสมาชิก กบข.จะมีดังนี้
บำเหน็จ คิดจากฐานเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x อายุราชการ เช่น ทำงานมา 35 ปี เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายอยู่ที่ 30,000 บาท ก็เอา 30,000 X 35 ก็จะได้เงินบำเหน็จ 1,050,000 บาท
ส่วนบำนาญ คิดจากฐานเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x อายุราชการ ÷ 50 เช่น อายุราชการ 35 ปี เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน สุดท้ายอยู่ที่ 30,000 บาท ก็เอา (30,000 x 35) ÷ 50 = 21,000 บาทต่อเดือน
แต่นอกจากบำเหน็จ บำนาญ แล้ว สมาชิก กบข.จะได้รับเงินก้อนจากกองทุนที่ออมไว้อีกด้วย ภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 เดือน นับแต่เกษียณอายุ ประกอบด้วย
เงินสะสม หรือเงินออมที่ถูกหักจากเงินเดือนทุกเดือน
เงินสมทบที่รัฐให้
เงินประเดิม และเงินชดเชยเพื่อไม่ให้ผู้เป็นสมาชิก กบข. เสียเปรียบคนที่ไม่ได้เป็นสมาชิกโดยจะมอบให้ผู้ที่เลือกรับบำนาญเท่านั้น คนที่เลือกรับบำเหน็จจะไม่ได้
ดูในส่วนของข้าราชการไปแล้ว มาต่อกันที่มนุษย์เงินเดือนสายเอกชน ที่เป็นผู้ประกันตนของประกันสังคมกันบ้าง โดยเงินที่ส่งกันทุกเดือนจะแบ่งเป็น 3 กลุ่มหลักๆ ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล ประกันว่างงาน และเงินชราภาพ โดยหากเราจ่ายเงินสมทบในอัตราสูงสุดที่ 750 บาทต่อเดือน ก็จะถูกหักเงินเข้ามาเป็นเงินออมชราภาพ จำนวน 450 บาท
หากเข้าสู่วัยเกษียณ โดยต้องมีอายุ 55 ปีก่อน หรือถ้าอายุ 55 ปีแล้วยังทำงานอยู่ ก็จะเบิกได้ หรือสิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน แต่คุณต้องเป็นผู้ส่งเงินเข้ากองทุนมาแล้วไม่น้อยกว่า 15 ปี (180 เดือน) ซึ่งสำหรับมนุษย์เงินเดือนอย่างเราๆ ก็จะมีเงินบำเหน็จ บำนาญ เช่นกัน
มาดูในส่วนของบำนาญกันก่อน
กรณีจ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 180 เดือน มีสิทธิได้รับเงินชราภาพเป็นรายเดือนในอัตรา 20% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย (ฐานเงินเดือนสูงสุดที่คิดคือ 15,000 บาท)
กรณีที่มีการจ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือน จะได้เงินชราภาพเป็นรายเดือนในอัตรา 20% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย พร้อมเงิน 1.5% ระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบทุก 12 เดือน
ตัวอย่าง ได้รับเงินค่าจ้างเดือนละ 15,000 บาท และส่งเงินสมทบมาแล้ว 20 ปี เมื่ออายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ จะได้รับเงินชราภาพเท่าไรนั้น คำนวณได้ดังนี้
15 ปีแรก ได้อัตราเงินบำนาญ 20%
5 ปีหลัง ได้อัตราเงินบำนาญ (1.5% × 5 ปี) = 7.5%
รวม 20 ปี = 20% + 7.5% = 27.5%
เราจะได้รับเงินบำนาญรายเดือน = 15,000 x 27.5% = 4,125 บาท/เดือน จนกว่าจะเสียชีวิต
ในส่วนของเงินบำเหน็จชราภาพ ถ้าเลือกรับแบบนี้ ก็จะได้เงินก้อนไปเลย ซึ่งมี 3 ส่วนคือ เงินสมทบของผู้ประกันตน+เงินสมทบจากนายจ้าง+ผลประโยชน์ตอบแทน ซึ่งแต่ละคนจะได้ไม่เท่ากัน ต้องไปคำนวณในเว็บไซต์ของประกันสังคม www.sso.go.th ซึ่งการจะเลือกรับบำเหน็จหรือบำนาญ ต้องขึ้นอยู่กับเหตุผลของแต่ละคน และเปรียบเทียบถึงความคุ้มค่าที่ได้รับ
นอกจากนี้ยังมีเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ที่รัฐบาลมอบให้ทุกเดือน เป็นขั้นบันไดตามช่วงอายุ ดังนี้
อายุ 6069 ปี ได้รับเงิน 600 บาท/เดือน
อายุ 7079 ปี ได้รับเงิน 700 บาท/เดือน
อายุ 8089 ปี ได้รับเงิน 800 บาท/เดือน
อายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับเงิน 1,000 บาท/เดือน
ซึ่งจากเงินที่กล่าวมา เป็นเพียงสิทธิพื้นฐานที่คนทำงานจะได้รับ ในบางบริษัทอาจมี กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และบางคนเลือกที่จะเก็บออมส่วนตัว เช่น การทำประกันชีวิต, การลงทุนในกองทุนต่างๆ เพื่อวางแผนเกษียณอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ชีวิตบั้นปลายอย่างมีความสุข ไม่เดือดร้อนเรื่องเงิน และไม่เป็นภาระกับลูกหลาน

ชี้ช่องทางธุรกิจ พลิกชีวิต รอดไปด้วยกัน! ทุกวันอังคารพฤหัสบดี เวลา 18.30 น.
รอดไปด้วยกัน รอดไปด้วยกันเศรษฐกิจชาวบ้าน ทินโชคกมลกิจ
รายละเอียดเพิ่มเติม https://ch3thailandnews.bectero.com/news/210790

เปิดสิทธิประโยชน์ มนุษย์เงินเดือน-ข้าราชการ หลังเกษียณ ได้เงินอะไรบ้าง? #รอดไปด้วยกัน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *