Home » จ่ายหนี้ไม่ไหวแล้ว จากนั้นเราต้องรู้หลักการ การเจรจาต่อรองหนี้ กับเจ้าหนี้ แบบเอาตัวให้รอด | การ ต่อ รอง หนี้ บัตร เครดิต

จ่ายหนี้ไม่ไหวแล้ว จากนั้นเราต้องรู้หลักการ การเจรจาต่อรองหนี้ กับเจ้าหนี้ แบบเอาตัวให้รอด | การ ต่อ รอง หนี้ บัตร เครดิต

จ่ายหนี้ไม่ไหวแล้ว จากนั้นเราต้องรู้หลักการ การเจรจาต่อรองหนี้ กับเจ้าหนี้ แบบเอาตัวให้รอด


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สำหรับคนที่มีปัญหา กู้เงินซื้อบ้านไม่ผ่าน ขอสินเชื่อกับ ธนาคารไม่ผ่าน แบงก์ ไม่อนุมัติ หรือ ท่านที่เคยมีปัญหาติดเครดิตบูโร และได้ปิดหนี้ไปแล้ว แต่ก็ยังยื่นขอสินเชื่อไม่ผ่าน
จากประสบการณ์กว่า 20 ปี ในตำแหน่ง วิเคราะห์สินเชื่อ จากสถาบันการเงินชั้นนำหลายๆ แห่ง ผมทำงานมาหลายแบงก์ครับ และสายสัมพันธ์ ทั้งเพื่อนร่วมงานเก่า และเจ้านายเก่าๆ ของผม ที่ผมมีคอนเนคชั่นกันอย่างลึกซึ้ง ผมยินดีที่จะแนะนำ ทริค และเทคนิค วิธีการต่างๆ ในการกู้เงินซื้อบ้าน วิธีขอสินเชื่อให้ผ่าน แบงก์ไหน ธนาคารไหน ปล่อยง่าย เทคนิควิธีการเดินบัญชี ทำยังไงให้กู้บ้านผ่าน เทคนิคการซื้อบ้านแล้วมีเงินเหลือ เทคนิคการดันราคาประเมินบ้าน ต่างๆ เหล่านี้ ผมพร้อมที่จะสอนและแนะนำ จาก ความรู้ และประสบการณ์กว่า 20 ปี ของผม
อะไรบ้างที่คุณจะได้จากผม
1. เทคนิค และวิธีการการเตรียมเอกสาร
2. เทคนิค และวิธีการเจรจา และนำเสนอข้อมูลต่อเจ้าหน้าที่สินเชื่อของธนาคาร อันนี้สำคัญมากนะครับ
3. และในปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่าง ขั้นตอนการยื่นเรื่อง ติดต่อประสานงานกันได้ตลอดเวลาครับ
เพียงแค่ท่าน ชำระเงิน จำนวน 2,000 บาท มาที่
SCB ธนาคาร ไทยพาณิชย์ เลขที่บัญชี 407 0 55631 0
KBank ธนาคาร กสิกรไทย เลขที่บัญชี 766 2 21897 3
ชื่อบัญชี Yuttana Kosakul
แล้ว ส่งข้อความมาที่ Line ID : @antonio ( ใส่เครื่องหมาย @ ด้วยนะครับ ) แล้วนัดเวลาที่คุณสะดวก เพื่อโทรคุยกันอีกทีครับ
หรืออีกหนึ่งรูปแบบ
ให้ท่านติดต่อ เข้ามาที่ LineID : @antonio ( ใส่เครื่องหมาย @ ด้วยนะครับ ) เพื่อนัดหมาย เวลาและสถานที่ ในการให้คำแนะนำด้านการเตรียมเอกสารและเทคนิควิธีการยื่นกู้ ขอสินเชื่อบ้าน โดยคิดอัตราค่าบริการ ให้คำปรึกษา 5,000 บาท ไม่มีกำหนดเวลาสอบถามได้ ตลอดเวลา หลังจากสอนกันครั้งแรกแล้วครับ
สถานที่นัดหมาย
The Wisdom Lounge ของ KBank ธนาคาร กสิกรไทย จำกัด
1. Kbank สาขา เซ็นทรัลบางนา
2. Kbank สาขา ซีคอนสแควร์
3. Kbank สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
หรือที่ร้าน Starbucks
1. ร้าน สตาร์บัค สาขา สมิติเวช ศรีนครินทร์
2. ร้าน สตาร์บัค สาขา ซีคอนสแควร์
3. ร้าน สตาร์บัค สาขา พาราไดซ์ พาร์ค
4. ร้าน สตาร์บัค สาขา ธัญญา พาร์ค
5. ร้าน สตาร์บัค สาขา เดอะมอลล์ บางกะปิ
6. ร้าน สตาร์บัค สาขา เดอะ นายน์ พระรามเก้า
7. ร้าน สตาร์บัค สาขา เซ็นทรัล บางนา

ผมเป็นเจ้าของ เวปไซต์ http://antonioattorney.blogspot.com และ
เวปไซต์ http://antonioattorney.com และเพจนี้ https://www.facebook.com/AntonioAttorney/ ครับ
ลองดูโปรไฟล์ต่างๆ ของผม เพื่อการตัดสินใจของคุณครับ ผมรอคุณอยู่ครับ เพื่อที่จะได้แนะนำ เทคนิค วิธีการต่างๆ ให้คุณได้สำเร็จ และสมหวัง ในการที่ จะยื่นกู้ซื้อบ้านให้ผ่าน สมหวัง ตามความฝันของทุกๆ คนที่อยากจะมีบ้านกันนะครับ

จ่ายหนี้ไม่ไหวแล้ว จากนั้นเราต้องรู้หลักการ การเจรจาต่อรองหนี้ กับเจ้าหนี้ แบบเอาตัวให้รอด

ปรับโครงสร้างหนี้หรือรอศาลฟ้องไปเลย. เห้ยจะดีเหรอ


ปรับโครงสร้างหนี้ไม่ติดเครดิตบูโรแน่ใจหรือ, รอศาลฟ้องน่ากลัว​ ค่าใช้จ่ายบาน, ​เสียเวลา, ​เสียเงินเสียประวัติต้องขึ้นศาลใช่ไหม๊

ปรับโครงสร้างหนี้หรือรอศาลฟ้องไปเลย. เห้ยจะดีเหรอ

Overview-ทักษิณชี้ทางออกปัญหาน้ำมันลิตรละ25 สอนประยุทธ์เลิกคิดตื้นๆ หนุนลดภาษี ไล่รัฐหารายได้ทางอื่น


รายการ Overview ประจำวันที่ 24 พฤศจิกายน 2564
สมัครสมาชิกเพื่อรับสิทธิพิเศษ (Membership)
https://www.youtube.com/channel/UCpHTAE2EOwWkWGnW2HY8gRw/join
ติดตาม VoiceTV
YouTube : https://www.youtube.com/channel/UCpHTAE2EOwWkWGnW2HY8gRw
Facebook : https://www.facebook.com/VoiceTVOverview/
Instagram : https://www.instagram.com/voicetv/
Twitter : https://twitter.com/VoiceTVOfficial
Website : https://www.voicetv.co.th/
VoiceTV

Overview-ทักษิณชี้ทางออกปัญหาน้ำมันลิตรละ25 สอนประยุทธ์เลิกคิดตื้นๆ หนุนลดภาษี ไล่รัฐหารายได้ทางอื่น

รู้มั้ย? ติดหนี้บัตรเครดิต เจ้าหนี้สามารถยึดทรัพย์ หรืออายัดเงินเดือนได้ | Koy My Property Pro


ติดหนี้บัตรเครดิต เจ้าหนี้สามารถยึดทรัพย์ หรืออายัดเงินเดือนได้ | Koy My Property Pro
บัตรเครดิตได้กลายเป็นสิ่งจำเป็นในการใช้ชีวิตและถือเป็นปัจจัยหลักในการดำเนินชีวิตของผู้คนในยุคสังคมไร้เงินสด เมื่อมีการใช้บัตรเครดิตแล้ว ธนาคารหรือบริษัทเจ้าของบัตรจะทดรองจ่ายเงินค่าสินค้าหรือบริการแทนลูกค้าไปก่อน จากนั้นก็จะมีการเรียกเก็บเงินคืน โดยออกใบแจ้งหนี้ให้กับลูกค้า เพื่อให้ชำระเงินดังกล่าวคืน หากลูกค้าชำระเงินคืนครบเต็มตามจำนวนที่ใช้ไป และชำระตรงตามกำหนดเวลาที่ระบุ ธนาคารก็จะไม่เรียกเก็บดอกเบี้ยหรือค่าธรรมเนียมในการใช้บัตร แต่หากเป็นการชำระคืนบางส่วนหรือไม่ชำระคืนหรือชำระคืนไม่ตรงตามกำหนดเวลา ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม โดยแจ้งให้ผู้ใช้บัตรทราบในใบแจ้งหนี้งวดถัดไป ด้วยความสะดวกของการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิต ในการชำระค่าสินค้าและบริการ อีกทั้งบัตรเครดิตสามารถนำไปกดเงินสดตามตู้ ATM ภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัติ กระแสการใช้บัตรเครดิตจึงเป็นที่นิยมแพร่หลายและกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของคนทั่วไป
ลูกค้าบัตรเครดิตของธนาคารจะแบ่งเป็น 2 ประเภท ตามลักษณะการจ่ายชำระเงินคืน หากจ่ายคืนเต็มวงเงินทุกเดือนจะไม่เสียดอกเบี้ย แต่หากจ่ายไม่เต็มวงเงิน อาจจ่ายแค่เท่าที่มีเงินแล้วเหลือยอดค้างไว้ หรือบางคนก็จ่ายแค่ขั้นต่ำ เมื่อท่านตกเป็นผู้ผิดนัดในการชำระเงินค่าบัตรเครดิต ปัญหาที่จะตามมาคือ ท่านจะขาดความน่าเชื่อถือด้านการเงิน ซึ่งสถาบันการเงินเจ้าของบัตรเครดิตจะเปลี่ยนสถานะของท่านจากเดิมเป็นลูกหนี้ชั้นดีมาเป็นลูกหนี้ค้างชำระ หรือเรียกกันจนติดปากว่า แบล็กลิสต์ และจะรายงานข้อมูลการค้างชำระของท่านไปยังบริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด หรือ เครดิตบูโร ส่งผลให้ท่านมีประวัติเสียด้านการเงิน และอาจจะขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินได้ยากขึ้น
ในกรณีที่คุณเป็นหนี้บัตรเครดิตตามกฎหมายจะถือเป็นคดีแพ่ง ซึ่งผลลัพธ์ของคดีแพ่งคือ การบังคับคดีการชำระหนี้และชดใช้ค่าเสียหายเท่านั้น

ฟ้องศาลอะไร ที่ไหน
เจ้าหนี้สามารถยื่นฟ้องลูกหนี้ ได้ที่ 1. ศาลที่จำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล 2. ศาลที่มูลคดีเกิด (ที่ตั้งของสถาบันการเงินที่ลูกหนี้ได้ไปรับบัตรเครดิต)
คดีบัตรเครดิตโดยทั่วไปเมื่อเจ้าหนี้ได้แจ้งกำหนดการชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ทราบแล้ว เมื่อถึงกำหนดลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามกำหนด อายุความจะเริ่มนับทันทีในวันถัดไป โดยมีอายุความทั้งสิ้น 2 ปีนับจากผิดนัดชำระหนี้ ถ้าหากธนาคารไม่ได้ฟ้องร้องในเวลา 2 ปี คดีก็เป็นอันขาดอายุความ ซึ่งส่งผลให้ธนาคารหมดสิทธิเรียกร้องต่อลูกหนี้ ทั้งนี้ถึงขะขาดอายุความไปแล้ว ทางฝ่ายเจ้าหนี้สามารถยื่นฟ้องได้ โดยศาลก็จะดำเนินการไปตามกระบวนการของกฎหมายต่อไป เช่น ถ้าจะให้ศาลหยิบยกเอาเรื่องการขาดอายุความขึ้นมาพิจารณานั้น ลูกหนี้ต้องยื่นคำให้การต่อสู้คดีในเรื่องของการขาดอายุความ ขึ้นเป็นข้อต่อสู้ในชั้นศาล ซึ่งศาลก็จะนำมาพิจารณาตรวจสอบดูข้อเท็จจริง และถ้าหากเป็นจริงตามที่ลูกหนี้ยื่นคำให้การต่อสู้มา ทางศาลก็จะทำการ\”ยกฟ้อง\” คือพิพากษาให้คดีตกไป โดยไม่บังคับให้เป็นไปตามคําฟ้องของเจ้าหนี้ต่อไป ซึ่งในเรื่องนี้ได้มีกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตามมาตรา 193/29 กำหนดไว้ว่า เมื่อไม่ได้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้ ศาลจะอ้างเอาอายุความมาเป็นเหตุยกฟ้องไม่ได้
เจ้าหนี้สามารถอายัดเงินเดือนลูกหนี้ได้หรือไม่
คำตอบคือ ได้ โดยเมื่อศาลมีคำพิพากษาให้เจ้าหนี้ชนะคดี หากลูกหนี้ไม่ชำระคืนตามคำพิพากษาภายใน 30 วัน เจ้าหนี้มีสิทธิยึดทรัพย์หรืออายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ได้ โดยศาลจะตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีเพื่อออกหมายยึดและอายัดต่อไป ซึ่งทรัพย์สินที่สามารถยึดได้ มีดังนี้
1.เงินเดือน อายัดได้ไม่เกิน 30% และลูกหนี้ต้องมีเงินเดือนมากกว่า งนี้ 20,000 บาทถึงจะสามารถอายัดได้ และถ้าลูกหนี้มีค่าใช้จ่ายจำเป็นอื่น ๆ เช่น ค่าเลี้ยงดูบุตร ค่ารักษาพยาบาลก็สามารถนำหลักฐานไปขอลดหย่อนที่กรมบังคับคดีเพื่อลดเปอร์เซ็นต์การอายัดเงินเดือนได้
ตัวอย่างเช่น นายเอ ลูกหนี้ มีเงินเดือน 15,000 บาท กรณีนี้ไม่ถูกอายัดเงินเดือน นายบี ลูกหนี้ มีเงินเดือน 40,000 บาท กรณีนี้จะถูกอายัดได้ไม่เกิน 30% คือ 12,000 บาท คงเหลือเงินเดือนที่ไม่ถูกอายัด 28,000 บาท
2. เงินโบนัส อายัดได้ไม่เกิน 50%
3. เงินตอบแทนการออกจากงาน อายัดไว้ได้ไม่เกินสามแสนบาทหรือตามที่เจ้าหน้าที่บังคับคดีเห็นสมควร
4. เงินค่าตอบแทน ค่าสวัสดิการต่าง ๆ เช่น ค่าน้ำมัน ค่าที่พัก ค่าน้ำ ค่าไฟ อายัดได้ตามที่ขอแต่ไม่เกิน 30%ของจำนวนทีมีสิทธิได้รับ
5. เงินในบัญชีเงินฝาก หรือเงินปันผลจากการลงทุน อายัดให้ตามที่ขอ โดยหากเจ้าหนี้ไม่ได้ระบุให้อายัดเฉพาะปีใดปีหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีอายัดเป็นประจำทุกปีจนกว่าจะพ้นหนี้
6. ทรัพย์สินที่เป็นการลงทุน เช่น หุ้น ทองคำ ตราสารหนี้ หรือ กองทุน ให้อายัดให้ตามที่ขอ โดยระบุให้บุคคลภายนอกผู้รับคำสั่งอายัดส่งเงินเมื่อลูกหนี้ตามคำพิพากษาสิ้นสมาชิกภาพ
ทรัพย์สินที่เจ้าหนี้ไม่สามารถยึดทรัพย์ได้
1. เงินเดือน ค่าจ้าง บํานาญ บําเหน็จ เบี้ยหวัดของลูกหนี้ที่เป็นข้าราชการ
2. เงินเบี้ยเลี้ยงชีพ (เบี้ยคนชรา, เบี้ยคนพิการ)
3.เงินค่าวิทยฐานะ(ค่าตำแหน่งทางวิชาการ)กรณีเป็นข้าราชการ
4. เงินกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
5.เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
กรณีลูกหนี้บัตรเสียชีวิต ความเป็นหนี้ไม่สิ้นสุด เมื่อลูกหนี้บัตรเครดิตเสียชีวิต ให้เจ้าหนี้ทวงถามต่อกองมรดกของลูกหนี้ ผู้รับมรดกของลูกหนี้ไม่ต้องรับชำระหนี้เกินวงเงินมรดกที่ได้รับ ยกตัวอย่างเช่น ผู้รับมรดกได้รับเงินมรดกจำนวน 6 ล้านบาท แต่จำนวนหนี้สินของผู้ตายมีมากถึง 7 ล้านบาท เท่ากับว่าผู้รับมรดกจะต้องชำระหนี้แค่ตามจำนวนมรดกที่ได้รับคือ 6 ล้านบาทเท่านั้น ส่วนอีก 1 ล้านบาททถือเป็นหนี้สูญไป ไม่ต้องชำระหนี้เพิ่ม

อย่างไรก็ตามกฎหมายยังกำหนดวิธีการบรรเทาหนี้บัตรเครดิต คือการปรับโครงสร้างหนี้

หนี้บัตรเครดิต หนี้บัตรเครดิตมีผลทางกฎหมายอย่างไร เป็นหนี้บัตรเครดิตโดนฟ้องยึดทรัพย์ได้มั้ย

รู้มั้ย? ติดหนี้บัตรเครดิต เจ้าหนี้สามารถยึดทรัพย์ หรืออายัดเงินเดือนได้ | Koy My Property Pro

VDO PRASIA


วีดีโอสอนใช้งานระบบยื่นคำทวงหนี้

VDO PRASIA

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *