Home » คิด บำเหน็จชราภาพ (เงินก้อน จากประกันสังคม) | ค่าชดเชยเลิกจ้าง 2563

คิด บำเหน็จชราภาพ (เงินก้อน จากประกันสังคม) | ค่าชดเชยเลิกจ้าง 2563

คิด บำเหน็จชราภาพ (เงินก้อน จากประกันสังคม)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สำหรับผู้ที่อยากรับเงินเป็นบำเหน็จ ต้องพยายามอย่าส่งเงินสมทบถึง 180 เดือน
จำนวนเงินจะมากจะน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนเงินที่ส่งตลอดระยะเวลาการเป็นผู้ประกันตน

คิด บำเหน็จชราภาพ (เงินก้อน จากประกันสังคม)

ไม่มีความผิดแต่ถูกเลิกจ้าง ต้องได้ค่าชดเชย


อ้างอิงจากพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541
ใช้กับการจ้างที่ไม่มีกำหนดระยะเวลาแน่นอน

ไม่มีความผิดแต่ถูกเลิกจ้าง ต้องได้ค่าชดเชย

Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?


Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?
การเกษียณอายุ ตาม พรบ.คุ้มครองแรงงาน กำหนดอายุการเกษียณไว้ที่ 60 ปีบริบูรณ์ และให้ถือเสมือนว่าการเกษียณอายุเป็นการเลิกจ้าง นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยตามกฎหมายนะคะ โดยการเกษียณอายุของลูกจ้าง แบ่งออกเป็น 2 กรณีดังนี้
1. กรณีนายจ้างกำหนดอายุเกษียณอายุไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือกำหนดไว้ในสัญญาจ้าง ให้ลูกจ้างเกษียณก่อนครบ 60 ปีบริบูรณ์ ให้ถือว่าการเกษียณอายุเป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือในสัญญาจ้างนั้น
2. กรณีนายจ้างกำหนดอายุเกษียณอายุไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือกำหนดไว้ในสัญญาจ้าง ให้ลูกจ้างเกษียณอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ หรือหากนายจ้างไม่ได้กำหนดการเกษียณอายุไว้ ลูกจ้างมีสิทธิขอเกษียณอายุเองได้ โดยแสดงเจตนาต่อนายจ้างได้เมื่ออายุครบ 60 ปีขึ้นไป และให้มีผลเมื่อครบ 30 วัน หลังการแสดงเจตนากับนายจ้าง
การเกษียณอายุลูกจ้างไม่ได้สิทธิค่าบอกกล่าวล่วงหน้านะคะ นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุเกษียณอายุตามระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน หรือตามที่กำหนดไว้ในสัญญาจ้างแล้ว จึงไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าให้ลูกจ้างทราบ เพราะลูกจ้างทราบล่วงหน้าอยู่เเล้วว่าการเกษียณอายุจะเกิดขั้นเมื่อใด ดังนั้น โดยข้อกฎหมาย นายจ้างจึงไม่ต้องจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า แต่ต้องจ่าย ค่าชดเชยตามอายุงาน ดังนี้ค่ะ
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ยังไม่ครบ 1 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ยังไม่ครบ 3 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ยังไม่ครบ 6 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ยังไม่ครบ 10 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 10 ปี แต่ยังไม่ครบ 20 ปี จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน
ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันครบ 20 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชยเท่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400 วัน
คู่มือมนุษย์เงินเดือน

Ep.95 | การเกษียณอายุเท่ากับการเลิกจ้าง ต้องได้รับค่าชดเชย ถ้านายจ้างไม่กำหนดเกษียณอายุควรทำอย่างไร?

เลิกจ้าง หรือลาออก ทางไหนดีกว่ากัน? | สำนักข่าวไทย อสมท


โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด คือหนึ่งวิธีที่นายจ้างใช้บีบบังคับลูกจ้างให้ลาออกเอง แทนการเลิกจ้าง เพื่อลดการจ่ายเงินชดเชย ทำให้แรงงานที่เข้าร่วมโครงได้รับสิทธิประโยชน์ไม่เต็มที่
อ่านรายละเอียด ► http://www.tnamcot.com/?p=459467
☺ติดตาม สำนักข่าวไทย อสมท (ช่อง 9MCOT HD เลข 30 | โมเดิร์นไนน์ทีวี) Thai News Agency MCOT
► เว็บ http://www.tnamcot.com
► เฟซบุ๊ก https://www.facebook.com/tnamcot
► แอดไลน์ (LINE) สำนักข่าวไทย ไปที่ ► เพิ่มเพื่อน ► พิมพ์ @TNAMCOT หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40tnamcot
► ทวิตเตอร์ https://www.twitter.com/tnamcot
► อินสตาแกรม https://instagram.com/tnamcot
► ยูทูบ https://www.youtube.com/tnamcot
ชมข่าวย้อนหลัง ► https://www.tnamcot.com/programs

เลิกจ้าง หรือลาออก ทางไหนดีกว่ากัน? | สำนักข่าวไทย อสมท

ข้อยกเว้นนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย เมื่อลูกจ้างออกจากงาน


ขอขอบคุณข้อมูลจากศาลแรงงานกลาง
https://lbc.coj.go.th/
===============
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี
https://purestudio.simdif.com/

ข้อยกเว้นนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย เมื่อลูกจ้างออกจากงาน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *