Home » คัดค้านผู้จัดการมรดก , จากประสบการณ์จริง , ตอนที่ 301 | สิทธิ ผู้จัดการ มรดก

คัดค้านผู้จัดการมรดก , จากประสบการณ์จริง , ตอนที่ 301 | สิทธิ ผู้จัดการ มรดก

คัดค้านผู้จัดการมรดก , จากประสบการณ์จริง , ตอนที่ 301


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

คัดค้านผู้จัดการมรดก เรื่องจริง

_____________________
.
💜 ดูวีดีโอและติดตามทนายวีรยุทธทาง youtube
.
https://www.youtube.com/channel/UCqGMp2oSnRzK5KvykDBebKg?fbclid=IwAR1wNNQl2VS2avF4yS8EHSfLFocx1UJdtLFPEDrX4ahSS8vIK928L9nqlg
.
_______________________
ติดตามผลงานทาง Facebook
.
ทนายวีรยุทธ =
https://web.facebook.com/weerayutlawyerthai/?ref=br_rs
.
ทนายความ ฟ้องหย่า โดยทนายวีรยุทธ =
https://web.facebook.com/divorcelawyerthai/?ref=br_rs
.
ติดตาม instagram ทนายวีรยุทธ
.
https://www.instagram.com/weerayutsuwanpayak/?hl=th

คัดค้านผู้จัดการมรดก , จากประสบการณ์จริง , ตอนที่ 301

EP27 ผู้จัดการมรดกคือ อะไร มีหน้าที่อะไรบ้าง l ปรึกษาฟรี ทนายปวีณ


ผู้จัดการมรดกคือ อะไร มีหน้าที่อะไรบ้าง ทนายปวีณ
กฎหมายง่ายๆกับทนายปวีณ
ให้คำปรึกษาฟรี สงสัยตรงไหนเรื่องอะไรคอมเม้นไว้เลยครับ
Facebook : ทนายปวีณ คลิ๊กเลย https://bit.ly/2QFlaDH

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 1629 ทายาทโดยธรรมมีหกลำดับเท่านั้น และภายใต้บังคับแห่งมาตรา 1630 วรรค 2 แต่ละลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลังดังต่อไปนี้ คือ
(1) ผู้สืบสันดาน
(2) บิดามารดา
(3) พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
(4) พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
(5) ปู่ ย่า ตา ยาย
(6) ลุง ป้า น้า อา
คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้นก็เป็นทายาทโดยธรรม ภายใต้บังคับของบทบัญญัติพิเศษแห่งมาตรา 1635

EP27 ผู้จัดการมรดกคือ อะไร มีหน้าที่อะไรบ้าง l ปรึกษาฟรี ทนายปวีณ

ใครมีที่ดินต้องดู!! โฉนดครุฑแดง ครุฑเขียว ครุฑดำ ต่างกันอย่างไร


ชอบมาก และ อยากเลี้ยงกาแฟผม : https://kofi.com/kimpropertylive
★☆★ เรียนรู้เพิ่มเติม ★☆★
บทความอสังหา : http://www.properth.com/
รับความรู้ฟรี ทุกอาทิตย์ ผ่าน LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x ใครมีที่ดินต้องดู!! โฉนดครุฑแดง ครุฑเขียว ครุฑดำ ต่างกันอย่างไร
เนื้อหา
1. ที่ดินมีกี่ประเภท
2. ที่ดินแต่ละประเภทเหมาะกับอะไร
3. ที่ดินแบบไหนห้ามซื้อ
4. ที่ดินแบบไหนซื้อได้
5. การยึดครองที่ดิน
6. เอกสารสิทธิ์ที่ดิน
7. ที่ดิน สปก. นส.3 นส.3ก นส4
สวัสดีครับ ผมคิม ผมตั้งใจทำ vdo นี้เพื่อ ผู้ที่สนใจอสังหา เเละ อยากเริ่มต้นลงทุนอสังหา
เช่น บ้านเช่า คอนโดให้เช่า หรือ อพาทเม้นท์
สามารถเข้ามาเรียนรู้ได้ฟรี โดยไม่มีค่าใช้จ่ายครับ
ผมอยากให้ทุกคน มีฐานะทางการเงินที่ดีขึ้น
เเละ ความรู้ทางการเงิน จะทำให้คุณสามารถสร้างความมั่งคั่งด้วยตัวเองได้ครับ
ดูเเล้วชอบ อยากดูต่อ ติดตามด้วยเน้อ
ตรงนี้ ตรงนี้
https://goo.gl/segwTS
รับความรู้ฟรี
LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x
สำหรับติดต่อ : kim.chatchawan[at]gmail.com
สนใจสัมมนา
LINE : http://line.me/ti/p/%40spc2852x
Facebook FanPage : https://www.facebook.com/kim.properth/ ความรู้การเงิน การลงทุน

ใครมีที่ดินต้องดู!! โฉนดครุฑแดง ครุฑเขียว ครุฑดำ ต่างกันอย่างไร

พินัยกรรม เขียนขึ้นเอง หรือไปทำที่อำเภอก็ได้ สำคัญที่การลงวันที่


รายการ สวพ.อุบลฯช่วยประชาชน พิธีกร นิชรา บุญตะนัยและกมล หอมกลิ่น
ออกอากาศผ่านสถานีวิทยุพิทักษ์สันติราษฏร์ FM 99.50 MHz
ทีวีชุมชนช่อง สร้างสุขแชนแนล วีเคเบิ้ลทีวี ทีวีออนไลน์ www.sangsook.net โทรศัพท์ 045242694/045840030 เพจ สร้างสุขแชนแนล
ครั้งที่ 20 ประจำวันจันทร์ที่ 30 มกราคม 2558 เวลา 08.0010.00 น. พบกันทุกวันจันทร์ – วันศุกร์

พินัยกรรม เขียนขึ้นเอง หรือไปทำที่อำเภอก็ได้ สำคัญที่การลงวันที่

ผู้จัดการมรดก ใครสามารถเป็นผู้จัดการมรดกได้บ้าง และใครที่ต้องห้ามเป็นผู้จัดการมรดก !!


ผู้จัดการมรดก คือ บุคคลที่ตั้งโดยพินัยกรรม หรือ คำสั่งศาล (ม.1711)
ผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ตั้งขึ้นโดย ผู้ทำพินัยกรรม หรือ ระบุไว้ใน พินัยกรรม
ผู้จัดการมรดกตามคำสั่งศาล (ม.1713)
1.ทายาท
ทายาทโดยธรรมผู้มีสิทธิรับมรดกและสามารถร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกต่อศาลได้
มาตรา 1629 ทายาทโดยธรรมมีหกลำดับเท่านั้น และภายใต้บังคับแห่งมาตรา 1630 วรรค 2 แต่ละลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลังดั่งต่อไปนี้ คือ
(1) ผู้สืบสันดาน
(2) บิดามารดา
(3) พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
(4) พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
(5) ปู่ ย่า ตา ยาย
(6) ลุง ป้า น้า อา
ส่วนกรณีคู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้นก็เป็นทายาทโดยธรรม ภายใต้บังคับของบทบัญญัติพิเศษแห่งมาตรา 1635
2.ผู้มีส่วนได้เสีย
เช่น สามี/ภรรยาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายจะไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม แต่จะสามารถแบ่งทรัพย์สินในฐานะหุ้นส่วนได้ เนื่องจากทรัพย์สินที่ทำมาหาได้ร่วมกันระหว่างอยู่ด้วยกันถือว่าเป็นกรรมสิทธิ์รวม มีสิทธิแบ่งกันคนละครึ่ง และถือว่าเป็นผู้มีส่วนได้เสีย จึงสามารถร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกต่อศาลได้
3.พนักงานอัยการ
ใครที่ต้องห้ามเป็นผู้จัดการมรดก
มาตรา 1718 บุคคลต่อไปนี้จะเป็นผู้จัดการมรดกไม่ได้
(1) ผู้ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ
(2) บุคคลวิกลจริต หรือบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นผู้เสมือนไร้ความสามารถ
(3) บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนล้มละลาย
มาตรา 1711 ผู้จัดการมรดกนั้นรวมตลอดทั้งบุคคลที่ตั้งขึ้นโดยพินัยกรรมหรือโดยคำสั่งศาล
มาตรา 1712 ผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรมอาจตั้งขึ้นได้
(1) โดยผู้ทำพินัยกรรมเอง
(2) โดยบุคคลซึ่งระบุไว้ในพินัยกรรม ให้เป็นผู้ตั้ง
มาตรา 1713 ทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการจะร้องต่อศาลขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกก็ได้ ในกรณีดั่งต่อไปนี้
(1) เมื่อเจ้ามรดกตาย ทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมได้สูญหายไป หรืออยู่นอกราชอาณาเขต หรือเป็นผู้เยาว์
(2) เมื่อผู้จัดการมรดกหรือทายาทไม่สามารถ หรือไม่เต็มใจที่จะจัดการ หรือมีเหตุขัดข้องในการจัดการ หรือในการแบ่งปันมรดก
(3) เมื่อข้อกำหนดพินัยกรรมซึ่งตั้งผู้จัดการมรดกไว้ไม่มีผลบังคับได้ด้วยประการใด ๆ
การตั้งผู้จัดการมรดกนั้น ถ้ามีข้อกำหนดพินัยกรรมก็ให้ศาลตั้งตามข้อกำหนดพินัยกรรม และถ้าไม่มีข้อกำหนดพินัยกรรม ก็ให้ศาลตั้งเพื่อประโยชน์แก่กองมรดกตามพฤติการณ์และโดยคำนึงถึงเจตนาของเจ้ามรดก แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควร
ดูเนื้อหาเพิ่มเติมได้ในคลิปได้เลยนะคะ

หากคลิปนี้ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะคะ
Page Facebook : ModernLaw
หรือคลิกที่ลิงค์ : https://www.facebook.com/modernlawth

ผู้จัดการมรดก ใครสามารถเป็นผู้จัดการมรดกได้บ้าง และใครที่ต้องห้ามเป็นผู้จัดการมรดก !!

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *