Home » คอร์สเบสิคเนติ1/73ขาอาญาข้อ8 (กฎหมายแรงงาน)ติวเตอร์ชิ | กฎหมายแรงงาน มาตรา 119

คอร์สเบสิคเนติ1/73ขาอาญาข้อ8 (กฎหมายแรงงาน)ติวเตอร์ชิ | กฎหมายแรงงาน มาตรา 119

คอร์สเบสิคเนติ1/73ขาอาญาข้อ8 (กฎหมายแรงงาน)ติวเตอร์ชิ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

คอร์สเบสิคเนติ1/73ขาอาญาข้อ8 (กฎหมายแรงงาน)
ติวเตอร์ชิ

คอร์สเบสิคเนติ1/73ขาอาญาข้อ8 (กฎหมายแรงงาน)ติวเตอร์ชิ

กฎหมายแรงงาน เรื่อง การเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย


มารับฟังรายละเอียดเกี่ยวกับบทบัญญัติของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 มาตรา 119 เรื่อง กรณีนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยกรณีที่ลูกจ้างได้กระทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดตามที่กฎหมายกำหนดไว้ 6 กรณี ซึ่งนายจ้างสามารถเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าและไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

กฎหมายแรงงาน เรื่อง การเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย

คลินิกกฎหมายแรงงาน : EP 30 มาสายแล้วไง กลับดึกชดเชยให้ก็แล้วกัน


สำหรับใครที่ชอบอ่านบทความสามาถเข้าไปที่เพจ
https://www.facebook.com/labourlawcli…
https://www.facebook.com/Findyourlawy…

และสำหรับท่านใดที่เห็นว่าบทความนี้เป็นประโยชน์
อย่าลืม กดไลค์ กดแชร์ และกดติดตาม เพื่อเป็นกำลังใจให้ทีมงานสร้างสรรค์คลิปสาระดีๆต่อไปด้วยนะคะ ^^
คลินิกกฎหมายแรงงาน
กฎหมายแรงงาน
เลิกจ้างไม่เป็นธรรม
คดีแรงงาน
ลาออก

คลินิกกฎหมายแรงงาน : EP 30 มาสายแล้วไง กลับดึกชดเชยให้ก็แล้วกัน

#ลาออกงาน แต่ไม่ได้เขียนใบลาออก ไม่แจ้งล่วงหน้า มีสิทธิได้รับค่าจ้างหรือไม่? แล้วจะได้เมื่อไหร่?


ลูกจ้างหลายคนคงเคยเจอปัญหา ต้องออกจากงานโดยด่วน แบบไม่ได้เขียนใบลาออก หรือไม่ได้แจ้งล่วงหน้า หรือแจ้งล่วงหน้าน้อยกว่าระยะเวลาที่นายจ้างกำหนดไว้ แล้วนายจ้างจะไม่จ่ายค่าจ้าง ซึ่งจริงเรื่องนี้มีกฎหมายกำหนดไว้แล้ว เดี๋ยวผมจะมาคลายข้อสงสัยให้กับทุกท่านเอง

#ลาออกงาน แต่ไม่ได้เขียนใบลาออก ไม่แจ้งล่วงหน้า มีสิทธิได้รับค่าจ้างหรือไม่? แล้วจะได้เมื่อไหร่?

ลูกจ้างต้องได้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง #สิทธิลูกจ้าง #ค่าชดเชย #กฎหมายแรงงาน #เลิกจ้าง #mfinance


ลูกจ้างต้องรู้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง สิทธิลูกจ้าง ค่าชดเชย กฎหมายแรงงาน เลิกจ้าง mfinance ช่องเอ็ม mfoodtv นายจ้าง กระทรวงแรงงาน ประกันสังคม จัดหางาน
เครดิตข้อมูล : กระทรวงแรงงาน, ธรรมนิติ
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าชดเชย
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 118 ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้าง ดังต่อไปนี้
1) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่ำจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 30 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
2) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่ำจ้างของการทำงาน 90 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
3) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 180 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
4) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 240 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 240 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
5) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 300 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 300 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
6) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบ 20 ปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 400
วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของกการทำงาน 400 วันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

ลูกจ้างต้องได้! ค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง #สิทธิลูกจ้าง #ค่าชดเชย #กฎหมายแรงงาน #เลิกจ้าง #mfinance

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *