Home » ก.พ. Hack #4 คิดเปอร์เซ็นต์แบบง่ายๆ ไม่ต้องท่องสูตร – www.OpenDurian.com | ดอกเบี้ยเงินกู้บ้าน

ก.พ. Hack #4 คิดเปอร์เซ็นต์แบบง่ายๆ ไม่ต้องท่องสูตร – www.OpenDurian.com | ดอกเบี้ยเงินกู้บ้าน

ก.พ. Hack #4 คิดเปอร์เซ็นต์แบบง่ายๆ ไม่ต้องท่องสูตร – www.OpenDurian.com


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สนใจทดลองเรียน หรือ ลงคอร์สเต็มๆ แบบชัวร์ๆต้องนี่ https://www.opendurian.com/gorpormath/
\”เปอร์เซ็นต์\” เรื่องง่ายๆ ที่เรียนกันมาตั้งแต่ประถม และปรากฏให้เห็นในชีวิตประจำวันอยู่เสมอ แต่มีหลายคนที่ลืมวิธีคำนวณด้วยตัวเองไปแล้ว จะให้เรียนใหม่แต่เริ่มคงไม่ทันสอบ
ครูปอมมีเทคนิคคิดเปอร์เซ็นต์แบบง่ายๆ มาฝาก ไม่ต้องท่องสูตรให้เหนื่อย เทคนิคดีๆ ที่ช่วยให้เราสอบผ่าน ก.พ. ภาค ก อย่างง่ายดายยังมีอีกเยอะที่ https://www.opendurian.com/gorpormath/
ทดลองเรียนฟรีได้เลย ✌
==================
📖 คอร์ส ก.พ. Hack: ภาค ก ความสามารถทั่วไป
☑ เรียนแบบออนไลน์ ที่ไหนเมื่อไรก็เรียนได้
☑ การันตีเนื้อหาครบ จบในคอร์ส เน้นที่ออกสอบจริง
☑ เทคนิคเข้าใจง่าย ทำข้อสอบได้ชัวร์
☑ รูปแบบทันสมัย มีเอกสารและแบบฝึกหัดเพิ่มเติม
☑ สมัครวันนี้ พิเศษ! เรียนได้ยาวๆ ถึง 6 เดือน (ครอบคลุมถึงวันสอบ)
ลองเลย https://www.opendurian.com/gorpormath/ 😉

ก.พ. Hack #4 คิดเปอร์เซ็นต์แบบง่ายๆ ไม่ต้องท่องสูตร - www.OpenDurian.com

กุมารพญาน้อยอู้ฟู่แจกเงิน พระป้องทำดีช่วยวัดนับล้าน อึ้งโชว์ร่างเป็นซากพลิกฟื้น|ทุบโต๊ะข่าว|26/11/64


กุมารพญาน้อยอู้ฟู่แจกเงิน พระป้องทำดีช่วยวัดนับล้าน อึ้งโชว์ร่างเป็นซากพลิกฟื้น
รายการทุบโต๊ะข่าว ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ Amarin TV
เวลาออกอากาศ วันจันทร์ศุกร์ เวลา 19.0022.30 น.
และวันเสาร์อาทิตย์ เวลา 20.0022.00 น.
ดำเนินรายการโดย คุณพุทธ อภิวรรณ, คุณธนญญ์นภสสร์ น้อยเวียง, คุณสารวัตร กิจพานิช และคุณกมลพร วรกุล
กล่องดิจิตอล รับชมได้ที่ช่อง 34
ทุบโต๊ะข่าว AmarinTV34

กุมารพญาน้อยอู้ฟู่แจกเงิน พระป้องทำดีช่วยวัดนับล้าน อึ้งโชว์ร่างเป็นซากพลิกฟื้น|ทุบโต๊ะข่าว|26/11/64

ดอกเบี้ยบ้านคิดยังไง รู้ไหม กู้บ้าน 3 ล้านต้องจ่ายดอกเบี้ยให้ธนาคารเท่าไร?


ดอกเบี้ยบ้านคิดยังไง รู้ไหม กู้บ้าน 3 ล้านต้องจ่ายดอกเบี้ยให้ธนาคารเท่าไร?
รับชมคลิปเต็มที่
เทคนิคผ่อนบ้าน ให้หนี้หมดเร็วขึ้น 10 ปี ประหยัดดอกเบี้ยเป็นล้าน!!
https://youtu.be/UdUpk9sNPOk
หนี้บ้านสำหรับหลายๆคนแล้วถือว่าเป็นหนี้ก้อนที่ใหญ่ที่สุดและระยะเวลาการผ่อนชำระยาวนานที่สุดเลยก็ว่าได้นะครับ เพราะระยะเวลาที่ธนาคารเขาให้เราผ่อนบ้านเนี่ยเริ่มตั้งแต่ 20 ไปจนถึง 40 ปีเลยก็มีครับ ซึ่งเอาเข้าจิงๆถ้าเราผ่อนไปเรื่อยๆตามที่ธนาคารเขาบอกนี่คือทำงานจนเกษียนเลยนะครับกว่าหนี้ของเราจะหมด
แต่ประเด็นที่น่าสนใจคือไม่ใช่แค่เรื่องระยะที่นานหรอกนะครับ การผ่อนบ้านให้จำไว้เลยนะครับว่ายิ่งเราผ่อนนานเท่าไร เรายิ่งเสียดอกเบี้ยมากขึ้นเท่านั้น เพราะอะไรหรอครับเพราะว่าการคิดดอกเบี้ยบ้านเนี่ยเขาจะคิดแบบ ลดต้นลดดอกครับ อธิบายง่ายๆว่าดอกเบี้ยจะคิดตามเงินต้นครับ ผมได้ทำคลิปอธิบายเรื่องนี้ไว้อย่างระเอียดแล้วลองเข้าไปดูคลิปในช่องได้นะครับ

ดังนั้นไอการที่เราผ่อนบ้านเป็นเวลา 30 40 ปีเนี่ยนอกจากมันจะเป็นภาระระยะยาวมากๆแล้วเรายังต้องจ่ายดอกเบี้ยอีกเยอะมากๆด้วยครับเดี๋ยวจะหาว่าผมเว่อร์จนเกินไป ผมจะคำนวนออกมาให้ดูกันเลยดีกว่าครับ
สมมุติว่าผมซื้อคอนโดราคา 3 ล้านบาท ผมผ่อน 30 ปี โดยผมกำหนดอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยทั้งสัญญาอยู่ที่ 7% เหมือนที่ผมบอกทุกครั้งนะครับว่าที่ผมใช้ 7% เพราะเอาเอาเฉลี่ยทั้งสัญญาและปัดขึ้นนิดนึงเป็นค่าเผื่อเหลือความปลอดภัยเวลาคำนวน ดังนั้นถ้าเราเอาข้อมูลเหล่านี้เข้าไปคิดคำนวนในโปรกแกรม EZ Financial Calculator เราจะได้ออกมาว่า
เราจะต้องผ่อนธนาคารเดือนละ 19,959 บาท/เดือน
ถ้าผ่อนครบ 30 ปี เราจะต้องจ่ายค่างวดทั้งหมด = 7,184,265 บาท
ทุกคนไม่ได้ฟังผิดไปหรอกนะครับ กู้มาสามล้าน จ่ายจริง 7 ล้าน
นั่นหมายความว่าดอกเบี้ยตลอดอายุสัญญานี่คือ 4 ล้านกว่าบาทเลยครับ
ดอกเบี้ยบ้าน หนี้บ้าน คิดดอกเบี้ย กู้บ้าน

ดอกเบี้ยบ้านคิดยังไง รู้ไหม กู้บ้าน 3 ล้านต้องจ่ายดอกเบี้ยให้ธนาคารเท่าไร?

เทคนิคผ่อนบ้าน ให้หนี้หมดเร็วขึ้น 10 ปี ประหยัดดอกเบี้ยเป็นล้าน!!


เทคนิคผ่อนบ้าน ให้หนี้หมดเร็วขึ้น 10 ปี ประหยัดดอกเบี้ยเป็นล้าน!!
หนี้บ้านสำหรับหลายๆคนแล้วถือว่าเป็นหนี้ก้อนที่ใหญ่ที่สุดและระยะเวลาการผ่อนชำระยาวนานที่สุดเลยก็ว่าได้นะครับ เพราะระยะเวลาที่ธนาคารเขาให้เราผ่อนบ้านเนี่ยเริ่มตั้งแต่ 20 ไปจนถึง 40 ปีเลยก็มีครับ ซึ่งเอาเข้าจิงๆถ้าเราผ่อนไปเรื่อยๆตามที่ธนาคารเขาบอกนี่คือทำงานจนเกษียนเลยนะครับกว่าหนี้ของเราจะหมด
แต่ประเด็นที่น่าสนใจคือไม่ใช่แค่เรื่องระยะที่นานหรอกนะครับ การผ่อนบ้านให้จำไว้เลยนะครับว่ายิ่งเราผ่อนนานเท่าไร เรายิ่งเสียดอกเบี้ยมากขึ้นเท่านั้น เพราะอะไรหรอครับเพราะว่าการคิดดอกเบี้ยบ้านเนี่ยเขาจะคิดแบบ ลดต้นลดดอกครับ อธิบายง่ายๆว่าดอกเบี้ยจะคิดตามเงินต้นครับ ผมได้ทำคลิปอธิบายเรื่องนี้ไว้อย่างระเอียดแล้วลองเข้าไปดูคลิปในช่องได้นะครับ

ดังนั้นไอการที่เราผ่อนบ้านเป็นเวลา 30 40 ปีเนี่ยนอกจากมันจะเป็นภาระระยะยาวมากๆแล้วเรายังต้องจ่ายดอกเบี้ยอีกเยอะมากๆด้วยครับเดี๋ยวจะหาว่าผมเว่อร์จนเกินไป ผมจะคำนวนออกมาให้ดูกันเลยดีกว่าครับ
สมมุติว่าผมซื้อคอนโดราคา 3 ล้านบาท ผมผ่อน 30 ปี โดยผมกำหนดอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยทั้งสัญญาอยู่ที่ 7% เหมือนที่ผมบอกทุกครั้งนะครับว่าที่ผมใช้ 7% เพราะเอาเอาเฉลี่ยทั้งสัญญาและปัดขึ้นนิดนึงเป็นค่าเผื่อเหลือความปลอดภัยเวลาคำนวน ดังนั้นถ้าเราเอาข้อมูลเหล่านี้เข้าไปคิดคำนวนในโปรกแกรม EZ Financial Calculator เราจะได้ออกมาว่า
เราจะต้องผ่อนธนาคารเดือนละ 19,959 บาท/เดือน
ถ้าผ่อนครบ 30 ปี เราจะต้องจ่ายค่างวดทั้งหมด = 7,184,265 บาท
ทุกคนไม่ได้ฟังผิดไปหรอกนะครับ กู้มาสามล้าน จ่ายจริง 7 ล้าน
นั่นหมายความว่าดอกเบี้ยตลอดอายุสัญญานี่คือ 4 ล้านกว่าบาทเลยครับ
วิธีแรกครับคือการโปะหรือการผ่อนชำระเพิ่มจากที่ผ่อนอยู่
จริงๆวิธีนี้มีหลายท่านทำกันแล้วแต่ยังมีอีกหลายๆคนที่ยังไม่รู้นะครับว่าสามารถโปะเพิ่มได้ ฉันอยากให้ทำความเข้าใจกันก่อนครับว่าเงินที่เราผ่อนเพิ่มเข้าไปเนี่ยมันจะไปตัดแต่ในส่วนเงินต้นทั้งนั้นเลยครับยกตัวอย่าง
เช่นปกติแล้วผ่อนชำระค่าบ้านอยู่เดือนละ 10,000 บาทถ้าเราผ่อนเพิ่มเข้าไปอีกสักเดือนละ 1,000 บาท 1000 ที่เราใส่เพิ่มเข้าไปนี่แหละครับมันจะไปตัดเป็นส่วนของเงินต้นทั้งนั้นเลยดังนั้นการผ่อนเพิ่มต่อเดือนจึงช่วยให้นี่เราหมดเร็วขึ้นอย่างมากนะครับที่สำคัญจะช่วยประหยัดดอกเบี้ยด้วยเพราะเมื่อเงินต้นโดนตัดออกดอกเบี้ยที่เราจะต้องจ่ายก็ลดเป็นสัดส่วนตามไปด้วยครับ

วิธีแรกเห็นว่าหมดเร็วแล้วใช่ไหมครับมาแต่มันยังมีอีกวิธีที่ควรทำร่วมกัด้วยระหว่างที่เราโปะครับนั่นคือการรีไฟแนนซ์ทุกๆ 3 ปีครับ
รีไฟแนนซ์คือการขอสินเชื่อก้อนใหม่จากธนาคารครับ อาจจะเป็นธนาคารเดิมที่เรากู้อยู่หรือไปยื่นขอธนาคารใหม่ก็ได้ครับ นั่นหมายความว่าเราจะเปลี่ยนหนี้เดิมทั้งก้อน กลายมาเป็นหนี้ก้อนใหม่เลยครับ พูดง่ายๆว่าขอกู้ใหม่อีกรอบ แต่ที่พิเศษกว่านั้นก็คือ การรีไฟแนนซ์เราสามารถกำหนดแผนการในการผ่อนชำระได้หลากหลายมากขึ้นด้วยครับยกตัวอย่างเช่น

กรณีที่1 เราอยากผ่อนบ้านให้หมดเร็วขึ้น
เราอาจเลือกระยะเวลาผ่อนชำระให้สั้นลง ส่งเงินต่องวดให้มากขึ้น
จากของเดิมเราผ่อน ยอดสินเชื่อคงเหลือ 3,000,000 บาท ระยะเวลา 30 ปี ผ่อนต่อเดือน 19,000 ถ้าเราอยากผ่อนให้หมดเร็วขึ้นเราอาจเลือกการ Refinace เป็น
ยอดสินเชื่อ 3,000,000 บาท ระยะเวลา 20 ปี ผ่อนต่อเดือน 15,000 บาทต่อเดือน

กรณีที่ 2 เราอยากให้ยอดผ่อนชำระต่อเดือนลดลง
จากยอดหนี้เดิมที่เราผ่อนธนาคารมาแล้ว 3 ปี ผมสมมุติว่า ถ้ายอดสินเชื่อเดิมเราคือ 3 ล้าน เราผ่อนมา 3 ปี เงินต้นอาจจะคงเหลือประมาณ 2.8 ล้านบาท และยอดเดิมเราผ่อนธนาคารอยู่ที่เดือนละ 19,000 บาท

ดังนั้นถ้าสรุปคร่าวๆจากทั้ง 2 วิธีที่ผมได้ยกมาให้ดูดีนะครับว่าในแต่ละเดือนที่เราผ่อนธนาคารเราควรจะผ่อนเพิ่มจากที่เราผ่อนอยู่ทุกเดือนครับเพราะมันจะช่วยตัดเงินต้นไปได้เยอะเมื่อเทียบกับเงินต้นไปได้เยอะนี่ก็จะหมดเร็วขึ้นดอกเบี้ยที่จะต้องจ่ายมันก็ลดลงด้วยเพราะเราผ่อนชำระครบ 3 ปีเราก็วางแผนที่จะ รีไฟแนนซ์ เพื่อปรับโครงสร้างหนี้เหลือลดอัตราดอกเบี้ยอะไรก็ว่ากันไปนะครับซึ่งผมเชื่อว่าการทำแบบนี้จะช่วยประหยัดดอกเบี้ยให้เราได้เป็นเงินมหาศาลนะครับและทำให้นี่ของเราหมดเร็วขึ้นด้วยนะครับ

ดังนั้นสรถุปกันอีกทีนะครับ ถ้าเพื่อนๆฟังมาถึงตรงจุดนี้และกำลังผ่อนบ้านกันอยู่หรือกำลังวางแผนจะซื้อบ้าน สิ่งที่ผมอยากให้ทุกๆคนทำคือ วางแผนโปะเพิ่มต่อเดือนครับ จะมากจะน้อยไม่ว่ากันแต่อยากให้โปะนะครับ และช่วงไหนมีเงินพิเศษมีโบนัสอะไรก็แบ่งบางส่วนมาโปะได้ยิ่งดีครับ และเมื่อครบสามปีทุกๆสามปีก็ให้วางแผนที่จะรีไฟแนนซ์หรือรีเทนชั่นเพื่อปรับอัตราดอกเบี้ยลงมาให้มันถูกลงอีกนะครับ หมั่นทำแบบนี้ผมรับประกันเลยนะครับเผลอบางคนถ้าวินัยดีๆ สามารถโปะได้เยอะๆเนี่ย 10 ปีหนี้บ้านหมดก็มีเยอะแยะไปครับ เราจะได้เก็บเงินไว้สำหรับต่อยอดอนาคตหรือไว้ซื้อความสุขอะไรก็ว่ากันไปนะครับ

ผ่อนบ้าน เทคนิคผ่อนบ้าน ซื้อบ้าน ดอกเบี้ยบ้าน

เทคนิคผ่อนบ้าน ให้หนี้หมดเร็วขึ้น 10 ปี ประหยัดดอกเบี้ยเป็นล้าน!!

อัตราดอกเบี้ยบ้าน MRR MLR MOR คืออะไร เกี่ยวข้องยังไงกับคนที่จะกู้ซื้อบ้าน ? | Guru Living


MRR MLR MOR คืออะไร เกี่ยวข้องยังไงกับคนที่กู้ซื้อบ้าน
MRR MLR MOR คนที่กำลังวางแผนจะขอินเชื่อกับทางธนาคารคงเคยได้ยินตัวย่อพวกนี้กันมาแล้วใช่ไหมครับ เพราะปรกติเวลาเราไปสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสินเชื่อบ้านมา พนักงานเขาจะบอกเป็น MRR บ้างหละ MLR อะไรบ้างหละ วันนี้ผมจะมาอธิบายคำศัพย์เหล่านี้กันครับว่ามันเกี่ยวข้องยังไงกับคนที่กพลีงวางแผนจะกู้ซื้อบ้าน มาดูกันครับ

ก่อนอื่นขออธิบายโครงสร้างสินเชื่อที่อยู่อาศัยหรือโครงสร้างของหนี้บ้านเราก่อนนะครับว่า โดยปรกติแล้วหนี้ที่เราไปกู้ธนาคารมาเนี่ยเขามีลักษณะการคิดดอกเบี้ยอย่างไรบ้าง
โดยปรกติแล้วสินเชื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารพาณิชย์แต่ละที่จะมีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยของสินเชื่อนั้นๆเป็นสองลักษณะใหญ่ๆครับคือ
1.ดอกเบี้ยเงินกู้แบบคงที่ (Fixed Rate)
อัตราดอกเบี้ยแบบคงที่หมายความว่าอัตราดอกเบี้ยจะคงที่ไว้ตามที่เราได้ตกลงกับธนาคารที่ปล่อยสินเชื่อนั้นๆ เช่นถ้าเราตกลงว่าเราจะขอกู้ในอัตราดอกเบี้ยคงที่ 5% ในช่วง 3 ปีแรกเราก็จะได้ดอกเบี้ยตามที่ตกลงไว้ครับ ทางธนาคารจะไม่สามารถเรียกเก็บอัตราดอกเบี้ยเกินกว่าที่ตกลงกับเราไว้ได้
2 ดอกเบี้ยเงินกู้แบบลอยตัว ( Floating Rate )
อัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัวหมายความว่า ดอกเบี้ยสินเชื่อของเราจะเปลี่ยนแปลงไปตามที่สถาบันการเงินกำหนดครับ โดยอัตราดอกเบี้ยในส่วนนี้สถาบันการเงินจะออกมากำหนดเป็นงวดๆแล้วแต่นโยบายในแต่ละช่วงครับ โดยจะอ้างอิงตามค่า MRR , MOR , MLR ในแต่ละช่วงเวลา

โดยปรกติการที่เราาไปกู้สินเชื่ที่อยู่อาศัย ทางธนาคารส่วนมากจะกำหนดอัตราดอกเบี้ยในช่วง 1 3 ปีแรกเป็นแบบคงที่ Fixrate ครับและที่สำคัญเป็นอัตราดอกเบี้ยที่ค่อนข้างจะต่ำด้วยครับเช่น คิดคงที่ 3 ปีแรก 5 % และในปีที่ 3 เป็นต้นไปดอกเบี้ยสินเชื่อของเราก็จะปรับเป็นแบบลอยตัวตามค่า MRR , MLR และ MOR ตามที่ธนาคารกำหนดในช่วงนั้นๆครับ
ดังนั้นเห็นไหมครับว่า MRR MLR MOR เป็นตัวกำหนดอัตราดอกเบี้ยของเราเลยครับว่าเราจะต้องจ่ายดอกเบี้ยแพงหรือถูก

MLR (Minimum Loan Rate)
หมายถึงอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจากลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี เช่น มีประวัติการเงินที่ดี มีหลักทรัพย์ค้ำประกันอย่างเพียงพอ โดยส่วนใหญ่ใช้กับเงินกู้ระยะยาวที่มีกำหนดระยะเวลาที่แน่นอน เช่น สินเชื่อเพื่อการประกอบธุรกิจ
MOR (Minimum Overdraft Rate)
หมายถึงอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจากลูกค้ารายใหญ่ชั้นดีประเภทวงเงินเบิกเกินบัญชี

MRR (Minimum Retail Rate)
หมายถึงอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจากลูกค้ารายย่อยชั้นดี เช่น สินเชื่อส่วนบุคคล, สินเชื่อที่อยู่อาศัย

โดยทั่วไป อัตราดอกเบี้ย MRR จะสูงกว่า MOR และ อัตราดอกเบี้ย MOR จะสูงกว่า MLR ซึ่งส่วนต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ย MRR และ MLR เป็นตัวสะท้อนระดับความเสี่ยงที่ต่างกันระหว่างลูกค้ารายใหญ่และรายย่อย

ยกตัวอย่างเช่น ธนาคารกำหนดว่า อัตราดอกเบี้ยของเราจะคงที่ 4% ในช่วง 3 ปีแรก และในปีที่ 4 อัตราดอกเบี้ยจะเป็น MRR 2 หมายความว่าเราต้องไปดูว่าช่วงนั้น MRR ของธนาคารที่เราขอสินเชื่อเป็นเท่าไร (ถ้าเกิดว่าสมมุติ MRR = 7 ) หมายความว่าดอกเบี้ยที่เราต้องจ่ายในปีที่ 4 จะเป็น 7 2 = 5% ต่อปีครับ ซึ่งในแต่ละช่วง MRR จะเปลี่ยนไปเรื่อยๆนะครับแล้วแต่นโยบายของธนาคาแห่งประเทศไทย
โดยอัตราของ MRR , MOR และ MLR จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดครับขึ้นอยู่กับช่วงเวลาและนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทยครับ และที่สำคัญ MRR MOR และ MLR ของแต่ละธนาคารจะไม่เท่ากันนะครับ ขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละธนาคาร เราในฐานะผู้บริโภคควรศึกษาข้อมูล และ รายละเอียดให้รอบคอบก่อนการขอสินเชื่อนะครับ
………………………………………………
ติดต่องาน
Mail: [email protected]
website: https://gurulivingth.com/
Youtube : https://www.youtube.com/channel/UCSqymhgsUgVLaQNF6L5gg
Facebook: https://www.facebook.com/gurulivingth/
………………………………………………

mrr mlr ดอกเบี้ยบ้าน สินเชื่อที่อยู่อาศัย mrrคือ mlrคือ morคือ mrrแต่ละธนาคาร mrr2563 mrr2562 mlrแต่ละธนาคาร mlr2563 ดอกเบี้ยบ้าน2563 กู้ซื้อบ้าน

อัตราดอกเบี้ยบ้าน MRR MLR MOR คืออะไร เกี่ยวข้องยังไงกับคนที่จะกู้ซื้อบ้าน ? | Guru Living

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *