Home » ก่อสร้างบ้าน, อาคาร, สิ่งปลูกสร้าง, ในที่ดินแบบไหนที่ต้องขออนุญาต​ | กฎหมาย เกี่ยว กับ การ สร้าง รีสอร์ท

ก่อสร้างบ้าน, อาคาร, สิ่งปลูกสร้าง, ในที่ดินแบบไหนที่ต้องขออนุญาต​ | กฎหมาย เกี่ยว กับ การ สร้าง รีสอร์ท

ก่อสร้างบ้าน, อาคาร, สิ่งปลูกสร้าง, ในที่ดินแบบไหนที่ต้องขออนุญาต​


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ก่อสร้างบ้านอาคารสิ่งปลูกสร้างในที่ดินแบบไหนที่ต้องขออนุญาต​

ก่อสร้างบ้าน, อาคาร, สิ่งปลูกสร้าง, ในที่ดินแบบไหนที่ต้องขออนุญาต​

ตอนที่ 1 \”การยื่นขออนุญาตก่อสร้าง\”


ตอนที่ 1 \

กฎ 50 30 20 ลงทุนในธุรกิจรีสอร์ท บริหารรีสอร์ทด้วยการวางกลยุทธ์


กฎการลงทุน 50%+ 30% +20% จากประสบการณ์เป็นผู้บริหารรีสอร์ทมามากกว่า 8 ปี ของผม คือสัดส่วนงบประมาณการลงทุนที่เหมาะสมที่สุดแล้วในธุรกิจที่พัก โรงแรม รีสอร์ท เชิงท่องเที่ยว โดยคิดจากในที่พักจำนวน 1 คืน เมื่อลูกค้าเข้ามาพัก
00:00 ไฮไลท์
00:30 ประสบการณ์ของผม
01:17 กฎการลงทุน 50%+ 30% +20%
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.bankhaokhobelly.com
สำหรับแบบทดสอบการประเมินงบลงทุนรีสอร์ทคร่าวๆคุณเองสามารถหางบลงทุนเฉพาะสำหรับธุรกิจของคุณได้แล้วนะครับ เพียงคลิ๊กที่ลิงค์ด้านล่างนี้ได้เลยครับ
https://86gfdngnl62.typeform.com/to/SB2o5vtd

กฎ 50 30 20 ลงทุนในธุรกิจรีสอร์ท  บริหารรีสอร์ทด้วยการวางกลยุทธ์

ระยะร่น เรื่องต้องรู้ก่อนสร้างบ้าน | Koy My Property Pro


ระยะร่น เรื่องต้องรู้ก่อนสร้างบ้าน กฎหมายสร้างบ้าน ระยะร่นข้างบ้าน หลังบ้านและหน้าถนน ก้อยอสังหาฯ Koy My Property Pro
ระยะร่น (ระยะเว้นห่าง) เป็นส่วนสำคัญสำหรับคนที่กำลังคิดสร้างบ้าน อาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างใด ๆ ควรทราบข้อกฏหมายนี้ไว้ เพื่อที่จะได้ออกแบบบ้านของเราให้มีสัดส่วนพอดีกับแปลงที่ดิน มิเช่นนั้นแล้วหากออกแบบมาผิด เมื่อนำแบบไปขออนุญาตก็อาจไม่ผ่าน ไม่ได้รับอนุญาต จำเป็นต้องเสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายมาแก้แบบกันใหม่ หรือหากท่านใดที่ยังไม่ได้ซื้อที่ดินแต่มีแบบบ้านเก็บไว้ในใจแล้ว จะได้เลือกซื้อที่ดินให้มีขนาดพอดีกับสัดส่วนระยะร่นด้วย
ระยะร่นกับถนนสาธารณะ
✔️กรณีถนนสาธารณะ มีความกว้างน้อยกว่า 6 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะ อย่างน้อย 3 เมตร
✔️กรณีถนนสาธารณะ มีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะ อย่างน้อย 6 เมตร เช่น ถนนมีความกว้าง 8 เมตร วัดจากกึ่งกลางถนนอย่างน้อย 6 เมตร กรณีนี้ระยะร่นอาคารไปถึงเขตถนน กว้างอย่างน้อย 2 เมตร
✔️กรณีถนนสาธารณะ มีความกว้างตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป แต่ไม่เกิน 20 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนนสาธารณะ อย่างน้อย 1 ใน 10 ของความกว้างของถนนสาธารณะ เช่น ถนนมีความกว้าง 12 เมตร ระยะร่นอย่างน้อย 1.2 เมตร
✔️กรณีถนนสาธารณะ มีความกว้างเกิน 20 เมตรขึ้นไป ให้ร่นแนวอาคารห่างจากถนนสาธารณะอย่างน้อย 2 เมตร

ให้เรื่องอสังหาฯเป็นเรื่องง่ายกับ My Property Pro
รับฝากขายเช่าอสังหาริมทรัพย์
ทุกประเภท
ช่องทางการติดต่อ
ทักคุณก้อยⓀⓄⓎ✆℡:
0927878239
0638242656
Line ➲ KoyMyPropertyPro
Line ➲ https://bit.ly/3r639R5
Line ➲ https://bit.ly/2FDfUyz
Line ➲ https://bit.ly/2JsCr0N
Inbox 📩
http://m.me/mypropertypro
……………….
Facebook fan page
https://www.facebook.com/MyPropertyPro9/
……………….
Website
http://mypropertypro.myweb.in.th/
……………….
YouTube ⏩ https://bit.ly/3cl3BCd
TikTok ⏩ https://bit.ly/2Zgrir8
ระยะร่นเรื่องต้องรู้ก่อนสร้างบ้าน กฎหมายระยะร่น KoyMyPropertyPro
Credit : Bensound.com/Freepik.com

ระยะร่น เรื่องต้องรู้ก่อนสร้างบ้าน | Koy My Property Pro

กทพ. ลุยสร้างทางด่วนสายใหม่ 6 เส้นทางประเดิม สายกะทู้-ป่าตอง และเกษตรฯ-นวมินทร์


ในปี 65 การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีโครงการที่จะได้เห็นเป็นรูปธรรม 2 โครงการ ประกอบด้วย
1.โครงการระบบการจัดเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติพิเศษแบบไม่มีไม้กั้น (MultiLane Free Flow) หรือระบบ MFlow
จะนำร่องเปิดบริการต้นปี 65 ไม่เกินเดือน เม.ย.65 บนทางพิเศษฉลองรัช 3 ด่าน ได้แก่ ด่านจตุโชติ, สุขาภิบาล 51 และสุขาภิบาล 52
และ 2.โครงการทางด่วน สายพระราม 3ดาวคะนองวงแหวนรอบนอกกรุงเทพฯด้านตะวันตกระยะทาง 18.7 กิโลเมตร (กม.)
วงเงินประมาณ 3 หมื่นล้านบาท ขณะนี้งานก่อสร้างลงนามครบทั้ง 4 สัญญาแล้วพยายามเร่งรัดงานให้เป็นไปตามแผน
ส่วนสัญญาที่ 5 งานระบบจัดเก็บค่าผ่านทาง ระบบควบคุมจราจร และระบบสื่อสาร วงเงินประมาณ 800 ล้านบาท
อยู่ระหว่างปรับปรุงร่างเงื่อนไขการประกวดราคา(ทีโออาร์) ให้เป็นระบบ MFlow คาดว่าจะเปิดประมูลต้นปี 65
เพื่อให้โครงการแล้วเสร็จภายในปี 67 แต่บางช่วงจะพยายามเรางรัดให้เปิดบริการก่อนได้ก่อนภายในปี 66
สำหรับโครงการใหม่ที่จะได้เห็นการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ(PPP) ในปี 65 มี 2 โครงการ ประกอบด้วย
1.โครงการทางด่วน สายกะทู้ป่าตอง จ.ภูเก็ต ระยะทาง 3.98 กม.วงเงิน 1.4 หมื่นล้านบาท เตรียมเสนอคณะรัฐมนตรี(ครม.) ในปี 64
เปิดประมูลต้นปี 65 ได้ผู้ชนะประมูลปลายปี65 เริ่มก่อสร้างปี 66 เปิดบริการเดือน มิ.ย.69
2.โครงการก่อสร้างทางด่วนขั้นที่ 3 ช่วง N2 (เกษตรนวมินทร์) เชื่อมต่อถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพฯ ด้านตะวันออก (ทางด่วนเกษตรนวมินทร์วงแหวนตะวันออก)
ระยะทาง 8กม.วงเงิน 1.6 หมื่นล้านบาท จะเสนอ ครม. ประมาณเดือน เม.ย.65 เริ่มประมูลปี 65 ได้ผู้ชนะปี 66 เปิดบริการปี 69
นอกจากนี้ปี 65 มีโครงการที่ต้องดำเนินการเพื่อให้เกิดเป็นรูปธรรมในอนาคตประกอบด้วย
1.โครงการทางเชื่อมต่อท่าเรือกรุงเทพ และทางด่วน สายบางนาอาจณรงค์ (S1) ระยะทาง 2.25 กม. วงเงิน 2.7 พันล้านบาท
เป็นความร่วมมือระหว่าง กทพ. และการท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) ผลการศึกษาแล้วเสร็จโดยภายในปี 65
ต้องหารือกับคณะทำงานร่วมให้ได้ข้อสรุป ทั้งเรื่องความพร้อมของพื้นที่, แนวทางการดำเนินงานและรูปแบบการลงทุน ก่อนเสนอ ครม. พิจารณาอนุมัติในปี 66
2.โครงการทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ช่วงทดแทน N1 (แครายม.เกษตร) วงเงินลงทุนเดิม 1.1 หมื่นล้านบาท ศึกษาทบทวนแนวเส้นทางต้องได้ข้อสรุปในปี 65
3.โครงการทางด่วน สายฉลองรัชนครนายกสระบุรี และถนนวงแหวนรอบที่ 3 (MR10) โดยปี 65 จะหารือกรมทางหลวง (ทล.) และออกแบบรายละเอียดให้แล้วเสร็จ
คาดว่าปลายปี 65 จะเสนอ ครม. พิจารณาอนุมัติเบื้องต้นจะดำเนินการระยะ(เฟส)ที่ 1 ช่วงฉลองรัชวงแหวนรอบที่ 3 ก่อน ระยะทางประมาณ 17 กม. วงเงินประมาณ2.2 หมื่นล้านบาท
4.โครงการทางด่วน สายเมืองใหม่เกาะแก้วกะทู้ จ.ภูเก็ต ระยะทาง 35 กม. วงเงินประมาณ 3 หมื่นล้านบาท จะเริ่มศึกษาเดือน ม.ค.ก.พ.65 ใช้เวลาศึกษาประมาณ 1 ปี
5.โครงการแก้ไขปัญหาการจราจรบนทางด่วน คาดว่าจะเสนอ ครม. พิจารณาในปี 65 เบื้องต้นจะปรับปรุงกายภาพโครงสร้างของทางด่วนที่เกิดปัญหาจราจรติดขัดมากที่สุด 3 เส้น ได้แก่
1.ทางด่วนศรีรัช(ทางด่วนขั้นที่ 2),
2.ทางด่วนฉลองรัช(รามอินทราอาจณรงค์)
และ 3.ทางด่วนเฉลิมมหานคร (ทางด่วนขั้นที่ 1) รวม 21 โครงการ วงเงินประมาณ 4.8 หมื่นล้านบาท แบ่งเป็น 2 เฟส เฟสที่ 1 (ปี6570) วงเงิน 3.8 หมื่นล้านบาท
และเฟสที่ 2 (หลังปี 70) วงเงิน 1 หมื่นล้านบาท นอกจากนี้มีเส้นทางที่จำเป็นต้องต่อขยายและสร้างทางด่วนใหม่ในอนาคต รวม 11 โครงการด้วย

กทพ. ลุยสร้างทางด่วนสายใหม่ 6 เส้นทางประเดิม สายกะทู้-ป่าตอง และเกษตรฯ-นวมินทร์

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *