Home » การคำนวณภาษีโรงเรือน กรณีผู้เช่าจ่ายภาษีแทนผู้ให้เช่า | การคิดภาษีเงินได้

การคำนวณภาษีโรงเรือน กรณีผู้เช่าจ่ายภาษีแทนผู้ให้เช่า | การคิดภาษีเงินได้

การคำนวณภาษีโรงเรือน กรณีผู้เช่าจ่ายภาษีแทนผู้ให้เช่า


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 185 สถาบันYellowการบัญชี www.yellowaccounting.com โดย อ.มานพ สีเหลือง

การคำนวณภาษีโรงเรือน กรณีผู้เช่าจ่ายภาษีแทนผู้ให้เช่า

คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ฉบับละเอียดเว่อร์! | รู้เท่าธัน EP.7


ในคลิปนี้เราจะมาสอนวิธีการคำนวณภาษีแบบง่ายๆ แบบจัดเต็ม อธิบายละเอียดมาก ครบจบทุกประเด็น
0:00 Intro
1:14 ประเภทรายได้ตามมาตรา 40 ปี2563
7:13 รายการลดหย่อนภาษี ปี2563
13:33 อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
14:36 ตัวอย่างคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
…………………
ในทุกๆ ปี อีกหนึ่งหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่มีรายได้ต้องทำ ก็คือ ยื่นแสดงรายได้และจ่ายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้กับกรมสรรพากรนั่นเอง
ดังนั้นมาเรียนรู้เรื่องภาษีกันเถอะ เราเองก็สามารถคำนวณภาษีได้โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมเลย สำหรับมือใหม่หรือคนที่เพิ่งมีเงินเดือนก็สามารถคำนวณภาษีได้ด้วยตัวเองเช่นกัน การคำนวณภาษีไม่ใช่เรื่องยาก ถ้าเรารู้จักหลักการคิดคำนวณ
สมการคำนวณภาษี คือ
รายได้พึงประเมิน ค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน = รายได้สุทธิ
รายได้สุทธิ x อัตราภาษี = เงินภาษีที่เราต้องจ่าย
เรามาเริ่มต้นกันที่ประเภทรายได้ตามมาตรา 40 โดยแบ่งออกเป็นทั้งหมด 8 ประเภท ดังนี้
ประเภทที่ 1 รายได้จากเงินเดือน
ประเภทที่ 2 รายได้จากค่าจ้าง ค่าตำแหน่ง
ประเภทที่ 3 ลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญหา
ประเภทที่ 4 เงินได้จากการลงทุน
ประเภทที่ 5 เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน
ประเภทที่ 6 เงินได้จากวิชาชีพอิสระ
ประเภทที่ 7 เงินได้จากการรับเหมา
ประเภทที่ 8 รายได้จากธุรกิจอื่นๆ
รายการลดหย่อนภาษี ปี2563 แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ดังนี้
1. กลุ่มลดหย่อนทั่วไป
2. กลุ่มประกันชีวิต
3. กลุ่มการลงทุน
4. กลุ่มกระตุ้นเศรษฐกิจ
5. กลุ่มตามมาตราการ COVID19 (กลุ่มพิเศษที่เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เนื่องด้วยสถานการณ์ COVID19 ในปีนี้)
6. กลุ่มเงินบริจาค
(หมายเหตุ: ข้อมูลรายการลดหย่อนภาษี ปี2563 ณ วันที่ 1 พ.ค. 2563)
การคำนวณภาษีบุคคลธรรมดา สามารถดูในคลิปได้เลยครับ เราได้ยกตัวอย่างการคำนวณแบบง่ายๆ เป็นการคำนวณแบบขั้นบันได เหมาะสำหรับมนุษย์เงินเดือน (ผู้ที่มีรายได้ประเภทที่ 1) ส่วนผู้ที่มีรายได้จากช่องทางอื่นๆ นอกจากเงินเดือน (รายได้ประเภทที่ 28) สามารถคำนวณแบบเหมาได้ครับ

คำนวณภาษีบุคคลธรรมดา ภาษี
…………………
ฝากกด Subscribed เป็นกำลังใจให้พวกเราด้วยนะครับ
ติดตาม Cashury ช่องทางอื่นๆ ได้ที่
Facebook : https://facebook.com/Cashury.th
IG : https://www.instagram.com/cashury.th
Blockdit : https://www.blockdit.com/cashury
Twitter: https://twitter.com/Cashury_

คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ฉบับละเอียดเว่อร์!  | รู้เท่าธัน EP.7

คำนวณ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินเดือน


สำหรับการ “คำนวณ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินเดือน” นั้น จะคำนวณแตกต่างจากการจ่ายเงินประเภทอื่น ซึ่งจะคำนวณในลักษณะของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแล้วนำมาเฉลี่ยเป็นรายเดือนอีกครั้งหนึ่ง ไม่ได้มีอัตราหักเป็นเปอร์เซ็นต์เหมือนการจ่ายค่าใช้จ่ายอื่นๆ
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://flowaccount.com/blog/%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%93%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99/
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้
โทร: 020268989 และ Line: @flowaccount (มี@)
Website FlowAccount คลิก: bit.ly/fbAccountV9_1
💻 ทดลองใช้งาน โปรแกรมบัญชีออนไลน์ FlowAccount ฟรี 30 วันได้ที่ https://flowaccount.com
ดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น New FlowAccount ทั้งทาง iOS และ Andriod
📱 App Store: https://apple.co/2PoDikS
📱 Play Store: http://bit.ly/354gFcf

Credits
Voice Artist พิมวิภา ป๊อกยะดา
Scriptwriter สราญรัตน์ ไว้เกียรติ
Sound Designer \u0026 Engineer อลงกรณ์ สุขวิพัฒน์
หักณที่จ่าย เงินเดือน ภาษี FlowAccount NewFlowAccount

คำนวณ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินเดือน

วิธีคิดดอกเบี้ย ง่ายๆ เข้าใจได้ทันที


วิธีคิดดอกเบี้ย ง่ายๆ เข้าใจได้ทันที

วิธีคิดดอกเบี้ย ง่ายๆ เข้าใจได้ทันที

ความรู้การคำนวณภาษี หัก ณ ที่จ่าย 3% และ Vat 7% และรายรับจริงที่เราจะได้คือเท่าไร


การคำนวณภาษี หัก ณ ที่จ่าย 3% และ Vat 7% และรายรับจริงที่เราจะได้คือเท่าไร

ความรู้การคำนวณภาษี หัก ณ ที่จ่าย 3% และ Vat 7% และรายรับจริงที่เราจะได้คือเท่าไร

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *