Home » กฎหมายตั๋วเงิน: เช็คขีดคร่อมเข้าใจใน ๑๐ นาที | เช็คเงินสดขีดคร่อม

กฎหมายตั๋วเงิน: เช็คขีดคร่อมเข้าใจใน ๑๐ นาที | เช็คเงินสดขีดคร่อม

กฎหมายตั๋วเงิน: เช็คขีดคร่อมเข้าใจใน ๑๐ นาที


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

อัดเสียงในห้องสมุด นำเสียงเลยชวนง่วงนอนสักนิดนะครับ

กฎหมายตั๋วเงิน: เช็คขีดคร่อมเข้าใจใน ๑๐ นาที

เรื่องต้องรู้ ก่อนซื้อหรือรับ แคชเชียร์เช็ค,แคชเชียร์เช็คคืออะไร | Koy My Property Pro


ข้อควรรู้ ก่อนซื้อหรือรับ “แคชเชียร์เช็ค”
สิ่งที่จะช่วยลดความเสี่ยงในการสูญหายของการพกเงินสดไปไหนมาไหนจำนวนมากคือ เช็ค (Cheque) หรือ ตราสารในรูปแบบหนึ่งที่ธนาคารเป็นผู้ออกให้
เช็คจะมีหลากหลายประเภท แคชเชียร์เช็ค (Cashier Cheque)ก็เป็นหนึ่งในนั้น โดยผู้รับไม่ต้องกังวลว่า “เช็คจะเด้ง” หรือขึ้นเงินจากธนาคารไม่ได้
การพกเงินสดจำนวนมากเป็นสิ่งที่คนทั่วไปไม่นิยมทำกัน เพราะเสี่ยงต่อการสูญหาย ไม่ว่าจะเพราะลืมทิ้งไว้หรือถูกขโมย การพกเงินสดจึงนิยมพกกันทีละน้อยๆ แต่การใช้จ่ายบางอย่างก็ต้องใช้เงินสดจำนวนมากๆ เช่น การชำระเงินกู้บ้าน วางเงินดาวน์ซื้อรถยนต์จ่ายเงินในการทำธุรกิจ การใช้แคชเชียร์เช็ค จึงช่วยอำนวยความสะดวกได้
แคชเชียร์เช็คคืออะไร? ต่างกับเช็คทั่วไปอย่างไร?
แคชเชียร์เช็ค (Cashier Cheque) คืออะไร?
แคชเชียร์เช็คเป็นเช็คประเภทหนึ่งที่ธนาคารสั่งจ่ายโดยมีเงินสดอยู่ตามจำนวนที่ระบุในเช็ค และมีการระบุชื่อผู้รับไว้อย่างชัดเจน ซึ่งวิธีซื้อแคชเชียร์เช็ค ซื้อได้ทั้งเงินสดหรือหักบัญชีเงินฝากเท่าจำนวนที่ระบุในเช็คให้กับธนาคารพร้อมค่าธรรมเนียม ผู้ขายแคชเชียร์เช็คต้องเป็นธนาคารเสมอ ส่วนผู้รับเงินเป็นผู้ที่มีชื่ออยู่ในเช็ค
แคชเชียร์เช็คมีประโยชน์อย่างมาก คือ ใช้พกแทนเงินสดจำนวนมาก ไม่ต้องเสียเวลานับเงิน ถ้าสูญหายก็มั่นใจได้ว่าเงินจะไม่หายไป เพราะผู้รับเงินต้องตรงกับในเช็คเท่านั้น ถึงจะรับเงินได้ และแคชเชียร์เช็คยังไม่มีวันหมดอายุด้วย นอกจากนี้ยังมีค่าธรรรมเนียมเพียงเล็กน้อย ประมาณ 20 บาทในการซื้อแคชเชียร์เช็ค จึงช่วยอำนวยความสะดวกได้เป็นอย่างดีทั้งผู้จ่ายเงินและรับเงิน
แคชเชียร์เช็คต่างกับเช็คทั่วไปอย่างไร?
แคชเชียร์เช็คกับเช็คทั่วไป มีข้อแตกต่าง ดังนี้
1. แคชเชียร์เช็คเปรียบได้กับบัตรเดบิต
แคชเชียร์เช็คเปรียบได้กับบัตรเดบิต เพราะมีเงินอยู่ในเช็คเสมอ เนื่องจากผู้ซื้อได้ซื้อแคชเชียร์เช็คกับทางธนาคารตามจำนวนเงินที่ระบุแล้ว ไม่มีทางเช็คเด้งยกเว้นธนาคารนั้นล้มละลายไปเสียก่อน ขณะที่เช็คทั่วไปเปรียบได้กับบัตรเครดิต ซึ่งเจ้าของเช็คอาจมีหรือไม่มีเงินในบัญชีก็ได้ จึงมีโอกาสเกิดเช็คเด้งได้
2. ธนาคารเป็นทั้งผู้สั่งจ่ายและผู้จ่ายเงิน
แคชเชียร์เช็ค ธนาคารเป็นทั้งผู้สั่งจ่ายและผู้จ่าย ขณะที่เช็คทั่วไป ผู้สั่งจ่ายอาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือบริษัท ส่วนผู้จ่ายเป็นธนาคารเสมอ
3. ไม่ต้องมีบัญชีเงินฝากกับธนาคาร
ผู้ออกแคชเชียร์เช็คไม่ต้องเปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารที่จะออกแคชเชียร์เช็ค ขณะที่เช็คทั่วไป ผู้ขอออกเช็คต้องมีบัญชีกระแสรายวันกับธนาคารที่จะออกเช็ค
การใช้แคชเชียร์เช็คมีข้อดีกว่าเช็คทั่วไป คนธรรมดาทั่วไปก็สามารถใช้ได้ และไม่จำเป็นต้องมีบัญชีเงินฝากกระแสรายวันก็สามารถออกเช็คได้ จึงสะดวกสบายกว่ามากและมีความน่าเชื่อถือตรงที่เช็คจะไม่เกิดการเด้ง ผู้รับได้รับเงินแน่นอน ทำให้สบายใจทั้งผู้ให้ผู้รับทีเดียว
ให้เรื่องอสังหาฯเป็นเรื่องง่ายกับ My Property Pro
ช่องทางการติดต่อ
ทักคุณก้อยⓀⓄⓎ✆℡: 0638242656
Line ➲ https://bit.ly/2FDfUyz
Line ➲ https://bit.ly/2JsCr0N
Inbox 📩
http://m.me/mypropertypro
……………….
Facebook fan page
https://www.facebook.com/MyPropertyPro9/
……………….
Website
http://mypropertypro.myweb.in.th/
……………….
YouTube ⏩ https://bit.ly/3cl3BCd
TikTok ⏩ https://bit.ly/2Zgrir8
แคชเชียร์เช็ค CashierCheque เรื่องต้องรู้เกี่ยวกับแคชเชียร์เช็ค บ้าน บ้านมือสองทาวน์โฮม ขายบ้าน ขายที่ดิน ขายฝากบ้าน คอนโด คอนโดให้เช่า บ้านเช่าเช่าคอนโด ซื้อบ้าน อสังหาริมทรัพย์ kaidee
Credit : Bensound.com/Freepik.com

เรื่องต้องรู้ ก่อนซื้อหรือรับ แคชเชียร์เช็ค,แคชเชียร์เช็คคืออะไร  | Koy My Property Pro

ชัวร์ก่อนแชร์ ภัยไซเบอร์ : 5 เคล็ด(ไม่)ลับ ใช้สำเนาบัตรประชาชนให้ปลอดภัย


การใช้สำเนาบัตรประชาชน ยังมีความจำเป็นในการทำธุรกรรมต่าง ๆ ถ้าส่งโดยไม่ระวัง อาจจะถูกมิจฉาชีพนำไปใช้ในทางไม่ดีได้ ติดตามวิธีใช้สำเนาบัตรประชาชนให้ปลอดภัย กับ คุณพีรพล อนุตรโสตถิ์ จากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
🔎 ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ณัฐวัฒน์ จิตรมั่น

📌 สรุป :
การถ่ายเอกสารสำเนาบัตรประชาชน
ยังมีความจำเป็นอยู่ในการยื่นเป็นหลักฐานในการสมัครงาน หรือการทำธุรกรรมต่าง ๆ
และยิ่งในปัจจุบันการทำธุรกรรมหลาย ๆ อย่าง
จำเป็นต้องให้เราส่งเอกสารสำเนาผ่านทางออนไลน์
การส่งบัตรประชาชนของเราให้ปลอดภัยจึงเป็นสิ่งสำคัญมาก
เพราะถ้าป้องกันไม่ดี จะเป็นเครื่องมือชั้นดีที่มิจฉาชีพ
จะนำสำเนาของเราไปใช้งานในทางที่ไม่เหมาะสมได้ครับ
วันนี้ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
รวบรวม 5 เคล็ด(ไม่)ลับ ที่จะทำให้ทุกคนส่งสำเนาบัตรประชาชนได้อย่างปลอดภัย
Q : 1. อย่าถ่ายเอกสารหลังบัตรประชาชนโดยเด็ดขาด ?
A : ในอดีตเราอาจจะคุ้นเคยกับการถ่ายเอกสารบัตรประชาชนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
แต่ในปัจจุบันการถ่ายหลังบัตรประชาชนนั้นอันตรายมากครับ
เพราะว่าด้านหลังของบัตรประชาชน จะมีชุดตัวเลขที่เรียกว่า Laser ID
ซึ่งหน่วยงานภาครัฐ การสมัครลงทะเบียนรับสิทธิ์ต่าง ๆ
รวมถึงแอปพลิเคชันเกี่ยวกับการชำระเงิน
จะใช้เลขบัตรนี้ในการยืนยันตัวตนร่วมกับบัตรประชาชน
ถ้ามิจฉาชีพได้ข้อมูลเลขหลังบัตรของเราไป อาจจะถูกนำไปสวมรอย
ซึ่งเราอาจจะทั้งเสียสิทธิ์ และอาจจะเสียเงินโดยไม่รู้ตัว
Q : 2. ควรเขียนอะไรไปในสำเนาบัตรประชาชนบ้าง ?
การเขียนรายละเอียดบนสำเนาบัตรประชาชนของเรา
เพื่อป้องกันการนำไปใช้ต่อเป็นสิ่งที่สำคัญมาก
การป้องกันขั้นแรก คือการขีดคร่อมไปบนสำเนาบัตรประชาชนของเรา
จากคำแนะนำของ สำนักงานกิจการยุติธรรม ควรขีด 2 เส้น ทับสำเนาบัตร
แต่ห้ามขีดทับใบหน้า
การป้องกันขั้นที่ 2 คือการระบุว่าสำเนาบัตรประชาชนนั้นใช้เพื่อจุดประสงค์อะไร
เช่น หากใช้ในการสมัครงาน ควรระบุไปด้วยว่าใช้สมัครงานกับบริษัทใด
สมมติว่าใช้สมัครงานกับบริษัท ABC
ควรเขียนกำกับไว้บนสำเนาบัตรประชาชนระหว่างเส้นที่ขีดคร่อมว่า
“ ใช้เป็นหลักฐานในการสมัครงานกับบริษัท ABC เท่านั้น”
จากนั้นเขียนคำว่า สำเนาถูกต้อง
ลงลายมือชื่อ และระบุวัน เดือน ปี ที่เราใช้สำเนาบัตรประชาชนนั้น
ที่ต้องเขียนกำกับไว้แบบนี้เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้สำเนาบัตรประชาชนของเรา
ถูกนำไปใช้ในจุดประสงค์อื่นนั่นเอง
Q : 3. เราควรเขียนรายละเอียดต่าง ๆ ไว้ที่ตำแหน่งไหน ?
A : หลายคนอาจสงสัยว่าเราควรเซ็นสำเนาถูกต้อง
รวมถึงเขียนวัตถุประสงค์ที่ใช้ไว้ตรงไหนดี
ซึ่งบริเวณที่ควรเขียนที่จะปลอดภัยที่สุด
ก็คือเขียนทับลงไปบนสำเนาบัตรประชาชนเลย
ที่สำคัญคือไม่ควรเขียนที่พื้นที่ว่าง ๆ บนกระดาษรอบ ๆ สำเนา
เพราะถ้าหากมิจฉาชีพได้สำเนาบัตรประชาชนของเราใบนั้นไป
อาจจะตัดรายละเอียดที่เราระบุไว้และนำสำเนาของเราไปใช้ในกรณีอื่นได้อย่างง่ายดาย
Q : 4. การสแกนบัตรประชาชนในแอปพลิเคชันทางการเงินต่าง ๆ ?
A : ในปัจจุบันแอปพลิเคชันที่เกี่ยวกับการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
จะต้องให้เราสแกนบัตรประชาชนเพื่อเป็นการยืนยันตัวตน
ในกรณีนี้เพื่อเพิ่มความปลอดภัย
เราสามารถใช้วิธีที่มีการแชร์กันทางโซเชียลได้
ก็คือก่อนที่จะสแกนบัตรประชาชน
ให้นำบัตรประชาชนของเราใส่ในถุงพลาสติกใส
จากนั้นใช้ปากกาที่สามารถเขียนลงบนพลาสติกได้
เขียนระบุการใช้งานบนถุงซ้อนบริเวณบัตร
ซึ่งทางศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ได้สอบถามกับ
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ETDA แล้ว
ได้รับการยืนยันว่าวิธีนี้สามารถใช้ได้
และทาง ETDA ยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมไว้ว่า
หากกรณีที่ข้อมูลบางอย่างบนบัตรที่ไม่จำเป็นต้องส่งให้ผู้ขอข้อมูลนำไปใช้
เช่น ศาสนา ก็สามารถระบายปิดข้อมูลเหล่านั้นได้ด้วยเช่นกันครับ
Q : 5. ส่งสำเนาบัตรประชาชนเท่าที่จำเป็น และส่งให้กับบุคคลที่เชื่อถือได้เท่านั้น ?
A : ข้อมูลบัตรประชาชนของเรา เป็นเหมือนกุญแจในการทำธุรกรรมต่าง ๆ แทนตัวเรา
รวมถึงการเข้าถึงข้อมูลอื่น ๆ ของเราได้
ดังนั้นควรใช้สำเนาบัตรประชาชนในธุรกรรมที่มีความจำเป็นเท่านั้น
และจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า
ผู้ที่เราจะส่งสำเนาบัตรประชาชนให้นั้นเป็นผู้ที่เชื่อถือได้จริง ๆ
และนอกจากนั้นสิ่งที่เราจะต้องระมัดระวัง
ก็คือการเผยแพร่รูปบัตรประชาชนของเราผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์
รวมทั้งแอปพลิเคชันในการสนทนาต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายรูปบัตรตรง ๆ
การนำมาถ่ายรูปคู่
หรือการเผลอถ่ายติดเข้าไปกับรูปภาพอื่น ๆ โดยไม่ทันระวัง
ก็ถือว่าอาจเป็นอันตรายนะครับ
และทั้งหมดนี้คือ 5 วิธี
ที่จะทำให้เราใช้สำเนาบัตรประชาชนของเราได้อย่างปลอดภัย
มิจฉาชีพอยู่รอบตัวเรา และตั้งใจจะหาทางหลอกเอาข้อมูลส่วนตัวของเราอยู่ตลอด
ดังนั้นควรป้องกันไว้จะปลอดภัยที่สุด
ชัวร์ก่อนแชร์ sureandshare

🎯 หากได้รับอะไรมา อย่าเพิ่งแชร์ต่อ ส่งมาตรวจสอบกับ \”ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์\” 🎯
LINE :: @SureAndShare หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40sureandshare
FB :: https://www.facebook.com/SureAndShare
Twitter :: https://www.twitter.com/SureAndShare
IG :: https://instagram.com/SureAndShare
Website :: https://www.ชัวร์ก่อนแชร์.com
TikTok :: https://www.tiktok.com/@sureandshare

ชัวร์ก่อนแชร์ ภัยไซเบอร์ : 5 เคล็ด(ไม่)ลับ ใช้สำเนาบัตรประชาชนให้ปลอดภัย

เช็คขีดคร่อม


เช็คขีดคร่อม

ดร๊าฟแคชเชียร์เช็คต่างกันอย่างไร @036 story


21_04_2021
ชมคลิบทั้งหมดได้ที่นี่https://youtube.com/channel/UCMSNLVeNjEdsZP9EMqQR3Q
ดร๊าฟและแคชเชียร์เช็ค (ไม่ใช่เช็คนะคะเป็นแคชเชียร์เช็คแปลเป็นไทยว่าเช็คเงินสดค่ะ) ต่างกันเวลาซื้อและเวลาไปขึ้นเงินนะคะ ค่าธรรมเนียมไม่เหมือนกันค่ะ เวลาเราไปซื้อบ้านที่ดินหรือรถยนต์ การนำเงินไปเป็นจำนวนมากอาจทำให้เราเกิดความไม่ปลอดภัยขึ้นมาได้นะคะ ดังนั้นขอแนะนำเพื่อนๆๆ พี่น้องให้ซื้อ เป็นแคชเชียร์เช็คหรือดร๊าฟก็แล้วแต่ว่าจะซื้อขายกันระหว่างจังหวัด ถ้าซื้อขายในจังหวัดเดียวกันหรือพื้นที่เรียกเก็บเดียวกัน ให้ใช้แคชเชียร์เช็คเพราะการคิดค่าออกแคชเชียร์เช็คจะคิดฉบับละ20 บาทโดยประมาณค่ะ ถ้าหากเงินไม่เกิน 1 หมื่นบาทค่าธรรมเนียมไม่ต่างกันมากนะคะ แต่ถ้าผู้ซื้อผู้ขายอยู่คนละจังหวัดให้ซื้อดร๊าฟไปค่ะ เพราะจะมีค่าใช้จ่ายถูกกว่าค่ะ
การซื้อดร๊าฟจะเก็บค่าธรรมเนียมต้นทางค่ะ บางธนาคารจะกำหนดหมื่นแรก20 บาทหมื่นต่อไปอาจจะลดลงแล้วแต่ธนาคารไม่เท่ากันค่ะบางธนาคารคิดค่าธรรมเนียมสูงสุดไว้ที่ 1,000 บาท บางธนาคารอาจไม่กำหนดก็จะแพงตามยอดเงิน โทรถามธนาคารก่อนไปซื้อนะคะ ปลายทางของดร๊าฟ จะไม่มีค่าธรรมเนียมนะคะ

ถ้าเป็นแคชเชียร์เช็คผู้รับเงินปลายทางถ้าหากยอดเงินสูงและนำไปขึ้นเงินที่จังหวัดอื่นจะมีค่าธรรมเนียมจากยอดเงินและค่าคู่สายถ้ายอดเงินสูงมากๆค่าธรรมเนียมจะสูงตามแล้วแต่ละธนาคารที่กำหนดไว้ค่ะอย่าลืมถ่ายรูปเก็บไว้เป็นหลักฐานด้วยนะคะ
แนะนำซื้อเขตเดียวกันซื้อแคชเชียร์เช็ค
ซื้อบ้านที่ดินต่างจังหวัดใช้ดร๊าฟค่ะ
อย่าลืมโทรถามธนาคารก่อนออกจากบ้านนะคะ บางทีอาจมีค่าธรรมเนียมที่แตกต่างและบางธนาคารอาจไม่ขายดร๊าฟแล้วนะคะ
หากมีการเปลี่ยนแปลงการซื้อยกเลิกการซื้อฉับพลัน ถือเอกสารกลับมาปรึกษาธนาคารขอคืนเงินได้ค่ะ แต่อาจจะแตกต่างกันในรายละเอียดนะคะ
Cr.ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และจากธนาคารค่ะ
ขอบคุณทุกท่านที่กรุณาชมจนจบ
ขอบคุณที่ติดตาม กดLike \u0026 Share
ขอบคุณ Youtube
ขอให้ทุกท่านโชคดีนะคะ

ดร๊าฟแคชเชียร์เช็คต่างกันอย่างไร @036 story

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆTips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *