Home » เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุก เชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง | เช็คบุคคลล้มละลาย

เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุก เชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง | เช็คบุคคลล้มละลาย

เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุก เชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้หรือธนาคารหรือไฟแนนท์ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุกเชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง
สิ่งแรกที่ควรทำหยิบขึ้นมาอ่านก่อน ว่าใครเป็นเจ้าหนี้ใครเป็นลูกหนี้เขาฟ้องมาข้อหาอะไรเป็นที่เท่าไหร่หมายเลขคดีดำอะไรศาลไหน
หลังจากนั้นโทรไปหาทนายความของโจทก์ด้านหลังคำขอท้ายฟ้อง สอบถามรายละเอียดและแนวทางในการเจรจาหรือต่อสู้คดี
ลูกหนี้ควรไปศาลหรือไม่ไม่ไปได้ไหม และควรปรึกษาทนายหรือไม่มีประโยชน์ในการจ้างทนายเข้าไปให้คำแนะนำทางกฎหมายหรือไม่
ลองฟังคลิปนี้ดู อาจารย์เดชาให้ความรู้เกี่ยวกับชี้แนะทางออกเมื่อได้รับหมายศาล
ลองฟังดูนะครับมีประโยชน์ช่วยแชร์ไปด้วย พี่น้องประชาชนจะได้ไม่ต้องเครียด เพราะมีทางออก

เป็นหนี้ได้รับหมายศาลจากเจ้าหนี้ไม่ต้องตกใจไม่ติดคุก เชื่อผม เพราะมันเป็นคดีแพ่ง

#กฎหมาย #ข้าราชการล้มละลายให้ออกจากราชการเมื่อใด #ตำรวจล้มละลาย #ดร.ปรัชญ์ชา


กรณีข้าราชการตำรวจถูกฟ้องและเป็นบุคคลล้มละลาย ถือเป็นการให้ออกจากราชการ ตาม “คำสั่งทางปกครอง” ไม่ใช่ “คดีวินัย”\r
พ.ต.ต.ดร.ปรัชญ์ชา กระมลนิติธรรม นิติกร กองคดีปกครองและคดีแพ่ง

ตามที่นิติกรกองคดีปกครองได้รับข้อสอบถามจากหน่วยงานตาม บช.ต่าง ๆได้มีการตอบปัญหาเรื่องให้แก่ข้าราชตำรวจอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัญหาที่ข้าราชการตำรวจถามถึงเรื่องเกี่ยวกับล้มละลายในกรณีที่ข้าราชการตำรวจถูกฟ้องล้มละลาย ถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลาย เรื่องนี้มีข้าราชการตำรวจหลายนายที่ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจเท่าที่ควร ในเบื้องต้นจึงขอให้ทำความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับการที่จะถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย กล่าวคือ
หลักกฎหมายเกี่ยวกับการล้มละลาย
ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 9 มีหลักเกณฑ์การฟ้องคดีล้มละลายโดยเจ้าหนี้ธรรมดามี 3 ประการคือ ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา เป็นหนี้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์คนเดียวหรือหลายคนจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งล้านบาท ….หนี้นั้นอาจกำหนดจำนวนได้โดยแน่นอน ไม่ว่าหนี้นั้นจะถึงกำหนดชำระโดยพลันหรือในอนาคตก็ตาม
จะเห็นได้ว่า ตามมาตรา 9 ข้างต้นเป็นหลักเกณฑ์ของการฟ้องคดีของเจ้าหนี้ธรรมดา กล่าวคือเป็นเจ้าหนี้สามัญไม่มีประกัน ส่วนเจ้าหนี้มีประกันกล่าวคือเป็นเจ้าหนี้ผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ทั้งในทาง จำนำ จำนองหรือสิทธิยึดหน่วง ได้บัญญัติหลักเกณฑ์ไว้ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย
หลักกฎหมายในกรณีข้าราชการตำรวจถูกฟ้องคดีล้มละลาย
ต่อมา เมื่อข้าราชการตำรวจถูกฟ้องคดีล้มละลาย สิ่งที่ต้องปฏิบัติตามระเบียบ คือ การรายงานตนต้องหาคดีล้มละลาย ตาม ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี เล่ม 1 ตอน 1 ประเภทบุคคล บทที่ 13 โดยการรายงานตนต้องหาคดี ดังกล่าว จะต้องรายงานภายในกำหนด 3 วันนับแต่ได้รับหมายจากศาลล้มละลาย
หลักเป็นผู้ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดในกฎ ก.ตร. ตามมาตรา 100 (3) แห่งพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 ซึ่ง กฎ ก.ตร. ว่าด้วยคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของการเป็นข้าราชการตำรวจ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2549 ข้อ 4 (1) กล่าวคือ เป็นผู้ต้องคำพิพากษาของศาลถึงที่สุดให้เป็นบุคคลล้มละลาย ดังนั้น ผู้มีอำนาจตามมาตรา 72 จึงสั่งให้ข้าราชการตำรวจออกจากราชการ เพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทนได้
การพิจารณาดำเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดทำคำสั่งทางปกครอง
กระบวนการพิจารณาคดีล้มละลายนั้น เมื่อศาลพิจารณาได้ความจริงตามมาตรา 9 หรือ มาตรา 10 แล้ว ให้ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ตามมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 และหากต่อมากระบวนการพิจารณาของศาลล้มละลายได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ข้าราชการตำรวจผู้เป็นลูกหนี้ เป็นบุคคลล้มละลายตามมาตรา 61 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 ถือว่าเป็นผู้ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดในกฎ ก.ตร. ตามมาตรา 100 (3) แห่งพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 ซึ่ง กฎ ก.ตร. ว่าด้วยคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของการเป็นข้าราชการตำรวจ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2549 ข้อ 4 (1) กล่าวคือเป็นผู้ต้องคำพิพากษาของศาลถึงที่สุดให้เป็นบุคคลล้มละลาย ดังนั้น ผู้มีอำนาจตามมาตรา 72 จึงสั่งให้ข้าราชการตำรวจออกจากราชการ เพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทนได้
กรณีที่มีคำพิพากษาของศาลล้มละลายให้ผู้นั้นเป็นบุคคลล้มละลาย แล้วต่อมามีการอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลล้มละลาย ตามมาตรา 24 พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2548 ให้อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งไปยังศาลฎีกา ไม่ว่าจะเป็นคดีล้มละลายธรรมดาหรือในคดีฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ ก็ต้องอุทธรณ์ไปยังศาลฎีกาเช่นกัน ซึ่งกรณีเช่นนี้หากมีการอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่ง ย่อมถือว่าคดียังไม่ถึงที่สุด ดังนั้นยังไม่ถือว่าเป็นผู้ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ตามมาตรา 100 (3) พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 และ กฎ ก.ตร. ว่าด้วยคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของการเป็นข้าราชการตำรวจ พ.ศ.2547 ข้อ 4 (1) จึงไม่เข้าหลักเกณฑ์ที่จะสั่งให้ออกจากราชการ ดังกล่าว
การจัดทำคำสั่งต้องดำเนินการอย่างไร
กรณี ผู้มีอำนาจตามมาตรา 72 จะมีการจัดทำคำสั่งทางปกครอง เพื่อสั่งให้ข้าราชการตำรวจออกจากราชการกรณีเป็นบุคคลล้มละลายเพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทน จะต้องมีการดำเนินการพิจารณาทางปกครอง การรับฟังข้อเท็จจริง ข้อกฎหมายและการใช้ดุลพินิจ เพื่อจัดทำคำสั่งทางปกครอง โดยให้คำสั่งราชการให้มีผลตั้งแต่วันที่ผู้มีอำนาจตามมาตรา 72 ได้มีคำสั่ง

#กฎหมาย #ข้าราชการล้มละลายให้ออกจากราชการเมื่อใด #ตำรวจล้มละลาย #ดร.ปรัชญ์ชา

สอนตรวจสอบสถานะคดี ผ่านระบบของกรมบังคับคดี ได้ง่ายๆ


สอน ตรวจสอบ สถานะคดี คดีแพ่ง บุคคลล้มละลาย การฟื้นฟูของลูกหนี้ ค้นหาประกาศเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผ่านระบบของ กรมบังคับคดี

สอนตรวจสอบสถานะคดี ผ่านระบบของกรมบังคับคดี ได้ง่ายๆ

10 อย่างที่กรมบังคับคดีบังคับใช้หนี้ไม่ได้


10 อย่างที่กรมบังคับคดีบังคับใช้หนี้ไม่ได้

ทนายรณรงค์เคลียร์ชัด! แท้จริงแล้วกฏหมายล้มละลาย เป็นการลงโทษ หรือ เอื้อประโยชน์ลูกหนี้ E-Inside


เนื่องด้วยสภาวะเศรษฐกิจบ้านเราในปัจจุบันที่ประสบปัญหา จนมักจะได้ยินคำว่า ‘บุคคลล้มละลาย’ อยู่บ่อยๆ กระทั้งล่าสุดมีข่าวของคนดังในวงการ ถูกประกาศเป็นบุคคลล้มละลาย ท่ามกลางความสนสัยของประชาชนว่า เกิดเหตุแบบนี้ขึ้นได้อย่างไร และเชื่อเหลือเกินว่า หลายคนยังไม่เข้าใจแน่ชัดเกี่ยวกับกฏหมายล้มละลาย EFM ข่าวดังของเราจึงติดต่อไปยังทนายรณรงค์ จากเพจทนายคู่ใจ เพื่อพูดคุยเกี่ยวกับรายละเอียดของกฏหมายล้มละลายฉบับใหม่ให้ฟังกันแบบง่ายๆ 94efm ข่าวดัง เพลงดี ที่เดียวจบ !

ทนายรณรงค์เคลียร์ชัด! แท้จริงแล้วกฏหมายล้มละลาย เป็นการลงโทษ หรือ เอื้อประโยชน์ลูกหนี้ E-Inside

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *