NỘI DUNG BÀI VIẾT
สิทธิของสามีภรรยาภายหลังหย่า
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
สิทธิของสามีภรรยาภายหลังหย่า
ทรัพย์สิน
หนี้สิน
อำนาจปกครอง
ค่าทดแทน
ค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร
EP 91: แยกอยู่/หย่าร้าง ขั้นตอนเป็นอย่างไร
ขั้นตอนการหย่าร้าง
ถ้าจะฟ้องหย่าต้องไปยื่นคำร้องต่อศาล การหย่าสามารถขอได้ตามคำขอร่วมกันของคู่สมรส หรือฝ่ายเดียวโดยภรรยาหรือสามี
การหย่า โดยทั้งคู่เห็นพ้องต้องกัน
เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด และไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลในการขอหย่า
ทำข้อตกลง หรือสัญญาร่วมกัน เกี่ยวกับผลของการหย่าร้าง ในเรื่อง
1. สิทธิการดูแล (Sorgerecht)
2. ค่าเลี้ยงดู Unterhaltszahlung
3. ที่อยู่อาศัย Wohnung
4. การแบ่งทรัพย์สิน Teilung der Güter และ
5. ค่าใช้จ่ายของศาล der Gerichtskosten ฯลฯ
แม้ว่าตามกฎหมาย จะบอกว่าไม่จำเป็นต้องใช้ทนาย แต่ถ้ามีก็จะดี
คุณต้อง ยื่นคำร้องขอหย่า เป็นลายลักษณ์อักษรต่อศาล (คำร้องขอหย่า Scheidungsbegehren) ศาลบางแห่งมีแบบฟอร์มให้กรอก แต่ก็สามารถเขียนเป็นจดหมาย ว่าคุณทั้งสองต้องการหย่ากัน ซึ่งคู่สมรสทั้งสองต้องลงนามในจดหมายนั้น
แนบเอกสารต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในใบยื่นคำร้องขอหย่า
ส่งเอกสารทั้งหมดไปที่ศาลแพ่ง ในเขตที่คุณอยู่
ขอหย่าฝ่ายเดียว
ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งคัดค้านการหย่า จะไม่สามารถหย่าได้ จนกว่าจะแยกกันอยู่อย่างน้อยสองปี
กรณีที่ไม่ต้องรอจนถึง 2 ปี ก็หย่าได้ เช่น ความรุนแรงทางร่างกาย
ศาลใดมีอำนาจตัดสินการหย่า
อาศัยในสวิตเซอร์แลนด์
ให้ยื่นคำร้องต่อศาลแพ่ง (Zivilgericht) ที่มีอำนาจในเขตที่อยู่อาศัยของหญิงหรือชาย
ศาลในแต่ละรัฐ จัดการแตกต่างกัน ให้ถามผู้มีอำนาจศาลแขวง หรือทนายความ ว่าจะติดต่อศาลใด
โปรดทราบ: หากคุณเป็นชาวต่างชาติ การหย่าสามารถยื่น ณ ที่อยู่อาศัยของคุณได้ คุณต้องอาศัยอยู่ในสวิตเซอร์แลนด์เป็นเวลาอย่างน้อยหนึ่งปี มิเช่นนั้นจะต้องยื่นคำร้องขอหย่า ณ สถานที่อยู่อาศัยของคู่สมรสของคุณ
ที่มา
https://www.ch.ch/de/scheidungsverfahren/
หารายละเอียดว่าที่เราอยู่ ศาลนี้อยู่ที่ไหน
https://www.gerichtezh.ch/themen/eheundfamilie/formulare.html
กฎหมายเลี้ยงดูบุตรกรณีหย่าร้าง
กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดเสวนาระดมความคิดเห็นเพื่อยกร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาฉบับใหม่ โดยมีประเด็นสำคัญ คือการจ่ายค่าเลี้ยงดูบุตร กรณีหย่าร้าง ► http://www.tnamcot.com/view/59565038e3f8e4d03237549f
คลิกชมทุกตอนของ \”ชัวร์ก่อนแชร์\” ►https://goo.gl/zmgfeG
\”ข่าวดังข้ามเวลา\” ► https://goo.gl/rKcCQq
\”สกู๊ปพิเศษ\” ► https://goo.gl/Yw0ZIw
“เห็นแล้วอึ้ง\” ► https://goo.gl/zFvXUA
“เกษตรทำเงิน\” ► https://goo.gl/zF5aWu
“เกษตรสร้างชาติ” ► https://goo.gl/iSr814
“ภาพมุมมองใหม่ | ท่องเที่ยววิถีไทยเก๋ไก๋สไตล์ลึกซึ้ง\” ► https://goo.gl/Z9DVHZ
คลิกชม
1.สารคดีเฉลิมพระเกียรติ ► https://goo.gl/IPLmNK
2.พระราชกรณียกิจพระมหากรุณาธิคุณ ► https://goo.gl/XH7ayo
3.คนไทยหัวใจ♥รักในหลวง ► https://goo.gl/CKPWpl
ติดตาม สำนักข่าวไทย อสมท (ช่อง 9MCOT HD หมายเลข 30 | โมเดิร์นไนน์ทีวี) Thai News Agency MCOT
► เว็บ http://www.tnamcot.com
► เฟซบุ๊ก https://www.facebook.com/tnamcot
► แอดไลน์ (LINE) ► เพิ่มเพื่อน ► พิมพ์ @TNAMCOT หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40tnamcot
► ทวิตเตอร์ https://www.twitter.com/tnamcot
► อินสตาแกรม https://instagram.com/tnamcot
► ยูทูบ https://www.youtube.com/tnamcot
► ชมข่าวย้อนหลัง https://www.tnamcot.com/programs
ขั้นตอนการหย่าของคนไทยในเกาหลี #หย่าที่เกาหลี #คนไทยในเกาหลี
ขั้นตอนการหย่า เอกสารการหย่า ของคนไทยในเกาหลี
หย่าร้าง ที่อเมริกา เลือกทนายแบบไหนดี ? | Khwan Vong – Let’s talk.
หย่าร้าง ทนาย อเมริกา
อันดับเลือกให้เลือกทนายในรัฐและเมืองที่ท่านอยู่ค่ะ จะทำให้การติดต่อสื่อสารง่ายกว่าและทนายจะรู้กฎหมายค่ะ เพราะแต่ละรัฐกฎหมายต่างกันค่ะ
วิธีการหย่าร้างที่เมกามี ลักษณะ ใหญ่อยู่สองแบบค่ะ
แบบแรก เรียกว่า uncontested divorce
คือการหย่าร้างแบบทั้งสองฝ่ายยินดีพร้อมใจหย่า การหย่าร้างแบบนี้เหมาะสมกับครอบครัวที่ไม่มีบุตร หรืออาจจะมีทรัพย์สินร่วมไม่เยอะ คือตกลงกันได้เอง
แบบที่สอง เรียกว่า Contested Divorce คือ การหย่าที่ต้องใช้ทนายดำเนินการหย่าร้าง
(การใช้ทนายก็จะมีอยู่ 2 กรณี)
กรณีแรก จ้างทนายเพื่อเป็นการร่างเอกสารการแบ่งบันทรัพย์สิน และแบ่งการดูแลบุตร (การหย่าแบบนี้ทั้งสองฝ่ายยินดีพร้อมใจหย่า)แบบนี้ค่าใช้จ่ายจะถูกแล้วการหย่าจะจบเร็วค่ะ
กรณีที่สอง คือจ้างทนายทั้งสองฝ่ายค่ะ กรณีนี้คือสองฝ่ายตกลงกันไม่ได้นั้นเองค่ะ
♡︎♥︎♡︎♥︎♡︎♥︎♡︎♥︎♡︎♥︎♡︎♥︎♡︎♥︎♡︎♥︎♡︎♥︎♡︎♥︎
Social Media
IG 𓆉 Khwan_Vong
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips