NỘI DUNG BÀI VIẾT
ลาออกยังไงจึงจะครบปี【ตอบคำถามกฎหมายแรงงานและประกันสังคมEP.262】
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
จากคำถาม
\”เริ่มงานวันที่21มกราคม49 ถ้าลาออกต้องลาออกหลังวันที่21ใช่มั้ยค่ะถึงจะครบปี\”
7เรื่องหนักใจที่ทำให้คนเก่งตัดสินใจลาออก
7 เรื่องหนักใจในที่ทำงาน ที่ทำให้คนเก่งตัดสินใจลาออก
1.ทัศนคติแตกต่างจากเพื่อนร่วมงานหรือหัวหน้า อย่างที่รู้กันว่าคนแต่ละ generation ก็จะถูกหล่อหลอมในสังคมในรูปแบบที่แตกต่างกัน ส่งผลให้มีความเชื่อและพฤติกรรมแตกต่างกันไป เช่น Baby Boomer ซึ่งตรงกับวัยของหัวหน้างาน มักจะมีความมุ่งมั่นทุ่มเทให้กับงาน มีความจงรักภักดีกับองค์กรมาก แต่เด็ก Gen Y ซึ่งมักเป็นคนรุ่นที่เพิ่งเข้ามาทำงานใหม่ จะชอบความเป็นตัวของตัวเอง รักอิสระ ไม่ชอบอยู่ในกรอบ ดังนั้นเมื่อกลุ่มคนที่มีนิสัย มีความเชื่อที่ต่างกันมากๆ มาทำงานร่วมกันด้วยวิธีการทำงานคนละแบบกัน ก็เสี่ยงต่อความขัดแย้งและนำไปสู่การลาออกในที่สุด
2.เบื่อหน่ายกับการเมืองในองค์กร โดยเฉพาะกับเพื่อนร่วมงาน บางคนว่าเหนื่อยกับเรื่องงานยังไม่หนักเท่าต้องมานั่งเหนื่อยใจกับเรื่องคน บางทีแค่ปัญหาความสัมพันธ์ก็น่าเบื่อพอแล้ว หนักกว่านั้นยังอาจต้องเจอการแข่งขัน ตัดแข้งตัดขา แอบวางยาใส่ไฟทำลายอีกฝั่งยังกับในละคร แบบนี้ต่อให้เก่งแค่ไหนก็ยากที่จะทนไหว
3.บางครั้งตำแหน่งและเงินเดือนอาจจะไม่ใช่สิ่งสำคัญที่สุดสำหรับคนคนหนึ่ง หลายคนทำงานเพื่อให้ได้รับการยอมรับ เพื่อให้ได้รับความชื่นชม หรือเพื่อให้ตัวเองรู้สึกว่าเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาองค์กร สิ่งเหล่านี้เป็นคุณค่าทางจิตใจที่ประเมินเป็นตัวเลขไม่ได้ แต่ถ้าหัวหน้าไม่ใส่ใจมากพอที่จะชื่นชมและให้กำลังใจเค้าเมื่อมีผลงาน แถมหากพลาดอะไรก็ด่ายับ แค่นี้ก็เพียงพอแล้วที่คนหนึ่งคนจะตัดสินใจลาออก
4.บางคนใช้การทำงานเป็นการค้นหาตัวเอง โดยเฉพาะคนเก่งที่มักจะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆจนได้พบความสนใจใหม่ๆและต้องการที่จะได้ลองทำงานในตำแหน่งใหม่ๆ หรือออกไปเรียนต่อในสาขาที่เค้าสนใจ ซึ่งถ้าองค์กรไม่สามารถสนับสนุนเค้าได้ตรงจุดนี้ ก็อาจจะเสียคนเก่งๆไปกับการลาออกไปเรียนต่อ
5.เก่งมาจากไหน ก็แพ้ใจให้เด็กเส้น ระบบเส้นสายคืออีกสิ่งสำคัญที่ทำให้คนมีฝีมือโดนมองข้ามไป ทำงานดีมีผลงานชัดเจน แทนที่จะได้เลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง กลับกลายเป็นว่าโดนเด็กเส้นชิงตัดหน้าไปเฉยๆ โดนครั้งสองครั้งอาจจะแค่น้อยใจ แต่เจอบ่อยๆเข้าไปมีลาออกแน่นอน รวมถึงเรื่องความอาวุโสก็เช่นกัน ถ้าองค์กรสนับสนุนคนที่ลำดับความอาวุโสมากกว่าความเก่งแล้วละก็ คนเก่งก็ย่อมจะหนีไปหาที่ซึ่งให้ความสำคัญในความเก่งของเขามากกว่าอย่างแน่นอน
6.คนเก่งหลายคนมุ่งมั่นทำงานให้องค์กรอย่างเต็มที่ แต่ไม่มีใครพร้อมที่จะใช้ชีวิตเพื่องานได้ตลอดเวลา ทุกๆคนย่อมต้องการมีเวลาส่วนตัวให้กับตัวเอง ครอบครัว เพื่อน คนรัก ดังนั้นงานที่หนักเกินไปอย่างไม่จบไม่สิ้น ลาไม่ได้ หยุดไม่ได้ ไม่ว่าจะมีญาติพี่น้องป่วยอยู่โรงพยาบาลก็ห้ามลา แถมบางที่ทำโอทีกลายเป็นโอฟรีอีกต่างหาก แบบนี้เป็นใครจะไปทนไหวล่ะ
7. เรื่องเกี่ยวกับเงินเดือนและสวัสดิการ นับเป็นอีกอย่างหนึ่งที่ช่วยให้คนตัดสินใจลาออกได้ง่ายๆ ถ้ามีอีกที่ให้เงินเดือนมากกว่าใครๆก็อยากที่จะไปด้วยกันทั้งนั้น และประเด็นสำคัญคือ หลายองค์กรไม่ยอมที่จะขึ้นเงินเดือนให้พนักงานเก่า จนหลายคนเลือกที่จะลาออกไปทำงานที่อื่น ซึ่งก็เป็นเรื่องน่าแปลกใจว่า องค์กรยินดีที่จะจ่ายให้คนใหม่ด้วยตัวเลขที่มากกว่าเพื่อแลกกับประสบการณ์ในการทำงานที่น้อยกว่า แถมต้องมาสอนงานกันใหม่อีก
เชื่อว่าหลายคน คงไม่มีใครอยากลาออกจากงาน แต่ถ้าทำแล้วไม่มีความสุข ก็คงจะไม่มีใครทนไหว เพื่อนๆล่ะคะ เคยลาออกกันด้วยสาเหตุใดกันบ้าง มาแชร์กันได้เลยค่ะ?
อยากลาออกจากงาน ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง?
1. เก็บ Portfolios หมายถึง โครงการต่างๆ หรือ ผลงานต่างๆ ที่เราได้ทำ เพราะอาจจะจำเป็นที่จะเอาไว้ใช้ในการสมัครงานในอนาคต
2. เช็คกฏกติกา สัญญาจ้างทุกตัวอักษร ให้ดี จะออกทั้งที ควรต้องทำให้ถูกต้อง
3. เรื่องเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพวางแผนให้ดีจะย้ายกองไปที่ใหม่ หรือ จะเปลี่ยนเอาไปลง RMF ก็ได้ไม่ว่ากัน และ ในเรื่องสวัสดิการต่างๆ ถ้าค้างเบิก ก็ทำเรื่องให้เรียบร้อยก่อนที่จะลาออกไป จะได้ไม่เสียสิทธิ์
4. เงินฉุกเฉิน ควรมีเอาไว้บ้าง อย่างน้อยได้สัก 23 เดือนก็ยังดี กันเอาไว้เผื่อว่างานที่ใหม่มีปัญหา อาจจะต้องไปหางานใหม่ เราจะได้มีเงินใช้ในช่วงหางานทำ
5. วางแผนเคลียร์งานให้เรียบร้อยก่อนลาออก พยายามทำให้จบให้หมดก่อนจะไปจะดีมาก
6. จากกันด้วยดี หมายถึง หาโอกาสไปขอบคุณ ขอบใจเพื่อนร่วมงาน ลูกน้อ
หัวหน้า หรือ คนที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของเรา หรือ จะไปขอโทษกับคู่กรณีที่เราเคยมีปัญหากัน ก็ดีเช่นกัน ถือว่า เราจะได้เคลียร์ใจ ไปเลย
ก็มีประมาณ 6 ข้อ สำหรับการเตรียมตัวก่อนลาออก
ถ้าตอนเข้ามาเป็นมืออาชีพ ตอนลาออกไป ก็ต้องเป็นมืออาชีพยิ่งกว่า
ฝากใบลา – เนย ภัสวรรณ 【OFFICIAL MUSIC VIDEO มิวสิควิดีโอ】
ฝากใบลา
ดาวน์โหลดเพลงนี้ได้ที่ 4922 8334
Apple Music : https://music.apple.com/th/album/1400113399
Spotify : https://open.spotify.com/album/6PKZKLMekqFZccQ0pY3kMr
Youtube Music : https://music.youtube.com/watch?v=nAGzEOy4YlM
Joox : https://www.joox.com/th/single/K+P6CjIvGMAV6wiOEglJVg==
ํTrueID Music : https://www.truemusic.com/desktop/songdetail?musicCode=6010511000338548
ฝากใบลา
ศิลปิน : เนย ภัสวรรณ
คำร้อง/ทำนอง : สะเลอปี้
เรียบเรียง : ห่มสามสาเร็คคอร์ด
กีต้าร์ โซโล่ อ.ตี่ เจษฎา
เนื้อเพลง
แชทเฟสเด้ง ยามหกโมงเช้า
บอกว่าเฮาเลิกกันสาเนาะ
รีดผ้าอยู่กะน้ำตาคลอ
จนอีพ่อถามว่าเป็นหยัง
เช็ดน้ำตาพังแล้วบอกพ่อว่าฝุ่นเข้าตา
กำลังสิแชทถามว่าจริงหรือหลอก
อ้ายกะมาบล็อกเฟสหนีจากกัน
เป็นหยังอ้ายคือเฮ้ดจั่งวั่นน้องบ่เข้าใจ
สมัครอีกเฟสเพื่อเข้าไปส่อง
อ้ายโพสต์ฉลองความฮักครั้งใหม่
น้องเสียใจบ่มีแฮงไปฮอดโรงเรียน
จึงเขียนใบลาพร้อมน้ำตาที่มันรินไหล
แล้วฝากเพื่อนไปให้คุณครูว่าหนูขอลา
หากอาการทางใจหนูดีขึ้นหนูสิบืนไปโรงเรียนดอกหนา
แต่มื้อนี้ขอลาเช็ดน้ำตาใจ
(ซ้ำ/)
กำลังสิแชทถามว่าจริงหรือหลอก
อ้ายกะมาบล็อกเฟสหนีจากกัน
เป็นหยังอ้ายคือเฮ้ดจั่งวั่นน้องบ่เข้าใจ
สมัครอีกเฟสเพื่อเข้าไปส่อง
เห็นอ้ายฉลองความฮักครั้งใหม่
น้องเสียใจบ่มีแฮงไปฮอดโรงเรียน
จึงเขียนใบลาพร้อมน้ำตาที่มันรินไหล
แล้วฝากเพื่อนไปให้คุณครูว่าหนูขอลา
หากอาการทางใจหนูดีขึ้นหนูสิบืนไปโรงเรียนดอกหนา
แต่มื้อนี้ขอลาเช็ดน้ำตาใจ
หากอาการทางใจหนูดีขึ้นหนูสิบืนไปโรงเรียนเด้อค่ะ
แต่มื้อนี้ขอลาเช็ดน้ำตาใจ
ฝากใบลา เพลงช้ามาแรง2018
ลาออก ไม่ต้องบอกล่วงหน้า ได้ไหม
การ ลาออก จากงานนั้น กฎหมายแรงงาน กำหนดไว้ว่าต้องบอกล่วงหน้าอย่างน้อย 1 รอบการจ่ายเงินเดือน ดังนั้น ต้องบอกล่วงหน้า แต่หากไม่บอกล่วงหน้า นายจ้างมีสิทธิเรียกค่าเสียหายจากลูกจ้างได้ ที่ปรึกษา แนะนำว่า ควรบอกกล่าวล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน และควรบอกกับที่ใหม่ว่าจะย้ายไปอีก 1 เดือนข้างหน้า เพื่อให้ยุติธรรมกับทุกฝ่าย
✅📍ศูนย์จัดการมรดก (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy
📗สุดยอด พ็อคเก็ตบุ๊ค กฎหมายหลายรส 2 อ่านแล้วได้ความรู้ ไม่ถูกใครหลอกหรือเอาเปรียบ อ่านง่าย สั้น กระชับ ฮา เพียง 140 บาท 🔥ฟรีค่าส่งลงทะเบียน สอบถามและสั่งซื้อได้ที่ https://goo.gl/BeprPy
✅📍สมัครสมาชิกปรึกษากฎหมายรายปี (สอบถามรายละเอียดได้) https://goo.gl/BeprPy
✅📍ปรึกษากฎหมายทางโทรศัพท์ (สอบถามรายละเอียดได้) https://goo.gl/BeprPy
✅📍ประกันรถยนต์ ประกันสุขภาพ (สอบถามรายละเอียดได้) https://goo.gl/BeprPy
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips