Home » ลดหย่อนภาษี ใช้อะไรได้ประโยชน์สูงสุด? | แบบ ลดหย่อน ภาษี

ลดหย่อนภาษี ใช้อะไรได้ประโยชน์สูงสุด? | แบบ ลดหย่อน ภาษี

ลดหย่อนภาษี ใช้อะไรได้ประโยชน์สูงสุด?


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ภาษี วางแผนภาษี ลดหย่อนภาษี ค่าลดหย่อน SSF ประกันชีวิต
ช่วงครึ่งปีหลังนี้ หลายๆ คนกำลังต้องยื่นภาษีและเตรียมตัววางแผนภาษีในปีถัดไป วันนี้เรามาดูกันว่าอะไรที่เราสามารถใช้ลดหย่อนภาษีได้บ้าง เมื่อวางแผนภาษีดี ก็เสียภาษีน้อยลง มีเงินเก็บมากขึ้นค่ะ

ลดหย่อนภาษี ใช้อะไรได้ประโยชน์สูงสุด?

SSF RMF ใครบ้างควรซื้อ ควรซื้อตัวไหน ควรซื้อตอนไหน ควรซื้อเท่าไหร่? ลดหย่อนภาษีได้แค่ไหน? คุ้มมั้ย?


SSF RMF ใครกำลังลังเลว่าควรซื้อมั้ย ซื้อ SSF หรือ ​RMF ดี? หรือซื้อเท่าไหร่ดี? จะรอซื้อปลายปี หรือซื้อเลยดี? ลดหย่อนภาษีได้แค่ไหน? คลิปนี้มีคำตอบ 15นาที เข้าใจ SSF RMF พร้อมตัดสินใจเลย

SSF RMF ใครบ้างควรซื้อ ควรซื้อตัวไหน ควรซื้อตอนไหน ควรซื้อเท่าไหร่? ลดหย่อนภาษีได้แค่ไหน? คุ้มมั้ย?

ประกันแบบไหน #ลดหย่อนภาษี ได้บ้าง สรุปในคลิปเดียว | ค่าลดหย่อน EP.2


ประกันแบบไหนลดหย่อนภาษีได้บ้าง ? หลายคนสงสัยว่า ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ ประกันบำนาญ ไปจนถึง ประกัน ต่าง ๆ แบบไหนที่ ลดหย่อนภาษี ได้บ้าง ?
ในปัจจุบันประกันที่ใช้ลดหย่อนภาษีได้นั้น มีอยู่ทั้งหมด 4 ประเภท ได้แก่ ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ ประกันสุขภาพพ่อแม่ และ ประกันบำนาญ ดังนั้นก่อนที่จะตัดสินใจซื้อประกันตัวไหนเพื่อใช้สิทธิลดหย่อนภาษี พรี่หนอมขอแนะนำว่าควรเช็คเงื่อนไขของประกันแต่ละตัวให้ดีเสียก่อนครับ
สำหรับ เบี้ยประกันชีวิตทั่วไป หรือ เงินฝากแบบมีประกันชีวิต กลุ่มนี้สามารถใช้สิทธิลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริงสูงสุดไม่เกินจำนวน 100,000 บาท โดยกลุ่มนี้จะหมายความรวมถึงเบี้ยประกันชีวิตหลายประเภท ได้แก่
ประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลา คือ ประกันชีวิตที่จะจ่ายให้กับผู้รับผลประโยชน์ทันที เมื่อเราเสียชีวิตภายในระยะเวลาที่กรมธรรม์ให้ความคุ้มครองอยู่ แต่เป็นการคุ้มครองในชั่วระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น
ประกันชีวิตแบบตลอดชีพ คือ ประกันชีวิตที่ให้ความคุ้มครองตลอดชีพ (ตลอดชีวิตของเรา) และถ้าหากเราเสียชีวิตในขณะที่กรมธรรม์มีผลบังคับ บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายจำนวนเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์
ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ คือ ประกันชีวิตที่มีกำหนดคืนเงินประกันเมื่อครบกำหนดสัญญาเมื่ออายุกรมธรรม์ครบกำหนด โดยเราจะได้รับทั้งเงินคืนพร้อมกับผลตอบแทน ซึ่งเป็นประกันที่นิยมใช้ในเรื่องของการ “สะสมเงิน” มากกว่า “คุ้มครอง” ครับ
ประกันควบการลงทุน (Unit Link) คือ ประกันที่มีทั้งส่วนของประกันชีวิตที่ให้ทั้งความคุ้มครองชีวิต ที่เราสามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ตามปกติ แต่อีกส่วนหนึ่งจะถูกนำไปลงทุนในกองทุนรวม เพื่อสร้างผลตอบแทนเพิ่มขึ้นตามเป้าหมายและความเสี่ยงที่ผู้ซื้อประกันยอมรับได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับผลประกอบการของกองทุนรวมที่ผู้ซื้อประกันเป็นผู้เลือก และบริษัทประกันชีวิตเป็นผู้จัดการดูแลให้อีกต่อหนึ่ง
ส่วน ประกันสุขภาพของตัวเรา เราสามารถใช้สิทธิลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริงสูงสุดไม่เกินจำนวน 25,000 บาท โดยมีการเปลี่ยนแปลงสิทธิประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา
โดยเงื่อนไขร่วมกันระหว่างประกันชีวิตและประกันสุขภาพ คือ ทั้งสองตัวลดหย่อนภาษีรวมกันได้ไม่เกิน 100,000 บาท ครับ
สำหรับ ประกันชีวิตแบบบำนาญ ลดหย่อนภาษีได้สูงสุดถึง 15% ของเงินได้ที่ต้องเสียภาษี และเป็นจำนวนเงินสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท และยังมีเงื่อนไขเพิ่มเติมด้วยว่า เมื่อรวมกับกลุ่มลดหย่อนเพื่อการเกษียณแล้วต้องมีจำนวนเงินไม่เกิน 500,000 บาทอีกด้วยครับ
ประกันสุขภาพของคุณพ่อคุณแม่สามารถนำมาใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 15,000 บาท และค่าเบี้ยประกันสุขภาพนี้สามารถหารแบ่งกันสำหรับลูกหลาย ๆ คนที่ร่วมกันจ่ายได้ด้วยครับ (เฉพาะบุตรชอบด้วยกฎหมาย ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม)
โดยคุณพ่อคุณแม่ของเราต้องมีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาทต่อปีด้วยครับ
พรี่หนอมทำซีรีส์ ค่าลดหย่อน มาให้เพื่อทำให้ทุกคนเข้าใจเรื่องนี้มากยิ่งขึ้น ถ้าคิดว่ามีประโยชน์ต่อคนหมู่มาก ฝากกดติดตามกันด้วยนะครับ
0:00 Intro
0:20 วิธีคำนวณภาษีเงินได้บุคคล
1:08 ประกันอะไรลดหย่อนภาษีได้บ้าง
2:08 ประกันลดหย่อนได้เท่าไร
2:48 เงื่อนไขประกันชีวิต
4:52 เงื่อนไขประกันสุขภาพ
6:02 เงื่อนไขประกันบำนาญ
7:39 เงื่อนไขประกันสุขภาพพ่อแม่
8:33 สรุปวิธีเลือกประกันลดหย่อนภาษี

ประกันแบบไหน #ลดหย่อนภาษี ได้บ้าง สรุปในคลิปเดียว | ค่าลดหย่อน EP.2

5 เทคนิคการลดหย่อนภาษีอย่างชาญฉลาด | EP.6 | เงินทองต้องจัดการ


ถึงเวลาต้องยื่นแบบแสดงภาษีเงินได้ประจำปีแล้ว ปีนี้สามารถยื่นได้จนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2564 รายการเงินทองต้องจัดการ มีเทคนิคการลดหย่อนภาษีมาฝาก ซึ่งไม่ได้มีแค่การหักค่าลดหย่อนเท่านั้น แต่ยังมีเทคนิคอื่น ๆ เคล็ดลับต่าง ๆ ที่จะทำให้สามารถประหยัดภาษีได้มากกว่าเดิม โดยที่คุณอาจจะยังไม่รู้มาก่อน
เงินทองต้องจัดการ วางแผนการเงิน MahidolChannel
ติดตามชม \”เงินทองต้องจัดการ\”
รายการที่จะช่วยบริหารการเงินส่วนบุคคลให้อยู่หมัด
ในฉบับ \”มนุษย์เงินเดือน\” ทาง Mahidol Channel
––––––––––––––––––––
ช่อง YouTube | Mahidol Channel : http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook | http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล | https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล | https://www.cm.mahidol.ac.th/cmmu/

5 เทคนิคการลดหย่อนภาษีอย่างชาญฉลาด | EP.6 | เงินทองต้องจัดการ

บริจาคอะไร ลดหย่อนภาษีได้ถึง 2 เท่า ! I TAX เพื่อนๆ EP8


อะไรเอ่ย ทำแล้วได้บุญ แล้วยังได้ลดหย่อนภาษีแบบคูณ 2? สิ่งนั้นก็คือสิทธิลดหย่อนภาษีด้วยการบริจาค แต่ก็ไม่ใช่ว่าบริจาคที่ไหนก็ได้ลดหย่อน 2 เท่าเหมือนกันทั้งหมด เดี๋ยววันนี้เรามาพูดคุยกันว่า บริจาคที่ไหน ลดหย่อนภาษีได้ 2 เท่ากันบ้าง
กดดูเนื้อหาที่ต้องการแบบไว ๆ
1:03 เงื่อนไขการลดหย่อน 2 เท่าจากการบริจาค
1:24 บริจาคที่ไหน ได้ลดหย่อนภาษี 2 เท่าบ้าง?
3:32 การบริจาคให้แต่ละหน่วยงาน ในแต่ละปี อาจจะลดหย่อนภาษีได้ไม่เท่ากัน
4:19 การบริจาคที่ลดหย่อนได้ 2 เท่า อาจไม่ได้ขึ้นอยู่กับหน่วยงานที่เราบริจาคเงินให้อย่างเดียว แต่อยู่ที่วิธีการด้วย
4:51 eDonation คืออะไร?
5:31 หลักฐานที่ต้องเก็บ ในกรณีบริจาคด้วยวิธีการทั่วไป
5:53 วิธีการคำนวณภาษีจากการลดหย่อนภาษีด้วยเงินบริจาค
อ่านสรุปได้ที่ https://finno.me/taxfriendcharityclip
taxเพื่อนๆ FINNOMENA ภาษี

เปิดบัญชีซื้อกองทุนรวมกับ FINNOMENA ได้ที่ https://finno.me/oa954
ฝากอีกนิดนึง สำหรับผู้ที่กำลังวางแผนลดหย่อนภาษีด้วยกองทุนรวมไม่ว่าจะเป็น SSF หรือ RMF วันนี้ทาง FINNOMENA เปิดให้ผู้ลงทุนสามารถเปิดบัญชีและซื้อกองทุนรวมลดหย่อนภาษีจากแอปพลิเคชั่นได้ โดยไม่ต้องใช้กระดาษแม้แต่แผ่นเดียว ผู้ที่สนใจสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ https://finno.me/taxfundfund

บริจาคอะไร ลดหย่อนภาษีได้ถึง 2 เท่า ! I TAX เพื่อนๆ EP8

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *