Home » ผู้จัดการมรดก ใครสามารถเป็นผู้จัดการมรดกได้บ้าง และใครที่ต้องห้ามเป็นผู้จัดการมรดก !! | ขั้น ตอน การ ขอ เป็น ผู้จัดการ มรดก

ผู้จัดการมรดก ใครสามารถเป็นผู้จัดการมรดกได้บ้าง และใครที่ต้องห้ามเป็นผู้จัดการมรดก !! | ขั้น ตอน การ ขอ เป็น ผู้จัดการ มรดก

ผู้จัดการมรดก ใครสามารถเป็นผู้จัดการมรดกได้บ้าง และใครที่ต้องห้ามเป็นผู้จัดการมรดก !!


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ผู้จัดการมรดก คือ บุคคลที่ตั้งโดยพินัยกรรม หรือ คำสั่งศาล (ม.1711)
ผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ตั้งขึ้นโดย ผู้ทำพินัยกรรม หรือ ระบุไว้ใน พินัยกรรม
ผู้จัดการมรดกตามคำสั่งศาล (ม.1713)
1.ทายาท
ทายาทโดยธรรมผู้มีสิทธิรับมรดกและสามารถร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกต่อศาลได้
มาตรา 1629 ทายาทโดยธรรมมีหกลำดับเท่านั้น และภายใต้บังคับแห่งมาตรา 1630 วรรค 2 แต่ละลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลังดั่งต่อไปนี้ คือ
(1) ผู้สืบสันดาน
(2) บิดามารดา
(3) พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
(4) พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
(5) ปู่ ย่า ตา ยาย
(6) ลุง ป้า น้า อา
ส่วนกรณีคู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้นก็เป็นทายาทโดยธรรม ภายใต้บังคับของบทบัญญัติพิเศษแห่งมาตรา 1635
2.ผู้มีส่วนได้เสีย
เช่น สามี/ภรรยาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายจะไม่มีสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม แต่จะสามารถแบ่งทรัพย์สินในฐานะหุ้นส่วนได้ เนื่องจากทรัพย์สินที่ทำมาหาได้ร่วมกันระหว่างอยู่ด้วยกันถือว่าเป็นกรรมสิทธิ์รวม มีสิทธิแบ่งกันคนละครึ่ง และถือว่าเป็นผู้มีส่วนได้เสีย จึงสามารถร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกต่อศาลได้
3.พนักงานอัยการ
ใครที่ต้องห้ามเป็นผู้จัดการมรดก
มาตรา 1718 บุคคลต่อไปนี้จะเป็นผู้จัดการมรดกไม่ได้
(1) ผู้ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ
(2) บุคคลวิกลจริต หรือบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นผู้เสมือนไร้ความสามารถ
(3) บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนล้มละลาย
มาตรา 1711 ผู้จัดการมรดกนั้นรวมตลอดทั้งบุคคลที่ตั้งขึ้นโดยพินัยกรรมหรือโดยคำสั่งศาล
มาตรา 1712 ผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรมอาจตั้งขึ้นได้
(1) โดยผู้ทำพินัยกรรมเอง
(2) โดยบุคคลซึ่งระบุไว้ในพินัยกรรม ให้เป็นผู้ตั้ง
มาตรา 1713 ทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการจะร้องต่อศาลขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกก็ได้ ในกรณีดั่งต่อไปนี้
(1) เมื่อเจ้ามรดกตาย ทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมได้สูญหายไป หรืออยู่นอกราชอาณาเขต หรือเป็นผู้เยาว์
(2) เมื่อผู้จัดการมรดกหรือทายาทไม่สามารถ หรือไม่เต็มใจที่จะจัดการ หรือมีเหตุขัดข้องในการจัดการ หรือในการแบ่งปันมรดก
(3) เมื่อข้อกำหนดพินัยกรรมซึ่งตั้งผู้จัดการมรดกไว้ไม่มีผลบังคับได้ด้วยประการใด ๆ
การตั้งผู้จัดการมรดกนั้น ถ้ามีข้อกำหนดพินัยกรรมก็ให้ศาลตั้งตามข้อกำหนดพินัยกรรม และถ้าไม่มีข้อกำหนดพินัยกรรม ก็ให้ศาลตั้งเพื่อประโยชน์แก่กองมรดกตามพฤติการณ์และโดยคำนึงถึงเจตนาของเจ้ามรดก แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควร
ดูเนื้อหาเพิ่มเติมได้ในคลิปได้เลยนะคะ

หากคลิปนี้ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะคะ
Page Facebook : ModernLaw
หรือคลิกที่ลิงค์ : https://www.facebook.com/modernlawth

ผู้จัดการมรดก ใครสามารถเป็นผู้จัดการมรดกได้บ้าง และใครที่ต้องห้ามเป็นผู้จัดการมรดก !!

กฎหมายมรดก​ : การแบ่งมรดก​ ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดก​ ผู้รับพินัยกรรมกับทายาทโดยธรรม​ คู่สมรส​


กฎหมายมรดก​: เข้าใจการแบ่งมรดก​ คลิปเดียวจบ​
​แบ่งมรดก ไล่เรียงเป็นขั้นตอน​ ตามหลักกฎหมาย​
​ความรู้การแบ่งมรดก​เกี่ยวกับ​ การตายของเจ้ามรดก​ การตกทอดของมรดก ทายาท​ ผู้มีสิทธิรับมรดก​ การแบ่งมรดกระหว่างผู้รับพินัยกรรมกับทายาทโดยธรรม​ การแบ่งมรดกระหว่างทายาทโดยธรรรมที่เป็นญาติด้วยกัน​ และการแบ่งมรดกระหว่างทายาทโดยธรรมที่เป็นญาติกับคู่สมรส
กฎหมายมรดก​
แบ่งมรดก
เข้าใจการแบ่งมรดก​
ผู้รับมรดก
คลิปเดียวจบ​
หลักกฎหมาย​มรดก
ความรู้การแบ่งมรดก​
การตายของเจ้ามรดก​
การตกทอดของมรดก
ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดก​
การแบ่งมรดกระหว่างผู้รับพินัยกรรมกับทายาทโดยธรรม​
การแบ่งมรดกระหว่างทายาทโดยธรรรมที่เป็นญาติ
แบ่งมรดกระหว่างทายาทโดยธรรมที่เป็นญาติกับคู่สมรส
มรดกคู่สมรส
​เจ้ามรดก
​ปัญหามรดก
​พินัยกรรม
ผู้รับพินัยกรรม
ทายาทโดยธรรม
​ตกแก่แผ่นดิน
​มรดก_อาจารย์ฝน

กฎหมายมรดก​ : การแบ่งมรดก​ ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดก​ ผู้รับพินัยกรรมกับทายาทโดยธรรม​ คู่สมรส​

ฟ้องผู้จัดการมรดกและอายุความ


ขั้นตอนการปรึกษา
1.สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อโทรปรึกษาปัญหาทางกฎหมาย
https://www.youtube.com/channel/UCGOWQrTNOfmKMptD0tIvjg/join
2.พิมพ์คำถามผ่านไลน์ กับคำถามที่หลายท่านสงสัย กดติดตาม กดแชร์ก่อนปรึกษา ขอตอบทุกคำถามผ่าน https://lin.ee/WSoov7p (ปรึกษาฟรีด้วยการฝากข้อความ)ขอบคุณครับ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 814/2554
แม้ศาลชั้นต้นจะมีคำสั่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของ ช. จำเลยที่ 1 ก็เพียงแต่มีอำนาจจัดการทรัพย์มรดกของ ช. แทนทายาททุกคนและมีหน้าที่ต้องแบ่งปันที่ดินพิพาทซึ่งเป็นทรัพย์มรดกให้แก่ทายาททุกคน จำเลยที่ 1 ไม่มีสิทธินำที่ดินพิพาทไปขายให้แก่บุคคลใดโดยทายาทผู้ได้รับทรัพย์มรดกไม่ยินยอม แม้จำเลยที่ 2 ซื้อที่ดินพิพาทจากจำเลยที่ 1 โดยสุจริต เสียค่าตอบแทน และจดทะเบียนแล้ว จำเลยที่ 2 ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ตามหลักที่ว่าผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน การที่โจทก์ทั้งห้ามาฟ้องเรียกเอาที่ดินพิพาทคืน จึงเป็นการใช้สิทธิติดตามเอาคืนซึ่งทรัพย์สินจากผู้ไม่มีสิทธิยึดถือไว้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1336 กรณีไม่ใช่เรื่องเพิกถอนการฉ้อฉลตาม ป.พ.พ. มาตรา 237 เพราะการที่จะเป็นเรื่องเพิกถอนการฉ้อฉลได้นั้น จำเลยที่ 1 ผู้โอนจะต้องมีสิทธิโอนอยู่แล้ว แต่การโอนทำให้โจทก์ทั้งห้าซึ่งเป็นเจ้าหนี้เสียเปรียบเท่านั้น…

ฟ้องผู้จัดการมรดกและอายุความ

การยื่นคำร้องตั้งผู้จัดการมรดกต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง


กฎหมายใกล้ตัวกับ อัยการ สคชจ.ยะลา
หัวข้อ \”การยื่นคำร้องตั้งผู้จัดการมรดกต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง\”

การยื่นคำร้องตั้งผู้จัดการมรดกต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง

จัดการมรดก ฟรี !! , ยื่นได้ที่ไหน ?? 😳 , ถ้าจ้างต้องเสียเงินเท่าไร ? ตอนที่ 171


จัดการมรดก ฟรี !! , ยื่นได้ ที่ไหน ?? 😳 , ถ้าจ้างต้องเสียเงินเท่าไร ? ตอนที่ 171
.
_____________________
.
💜 ดูวีดีโอและติดตามทนายวีรยุทธทาง youtube
.
https://www.youtube.com/channel/UCqGMp2oSnRzK5KvykDBebKg?fbclid=IwAR1wNNQl2VS2avF4yS8EHSfLFocx1UJdtLFPEDrX4ahSS8vIK928L9nqlg
.
_______________________
ติดตามผลงานทาง Facebook
.
ทนายวีรยุทธ =
https://web.facebook.com/weerayutlawyerthai/?ref=br_rs
.
ทนายความ ฟ้องหย่า โดยทนายวีรยุทธ =
https://web.facebook.com/divorcelawyerthai/?ref=br_rs
.
ติดตาม ชีวิตส่วนตัว ทาง instagram
https://www.instagram.com/weerayutsuwanpayak/?hl=th
.
ขอบคุณแฟนคลับ ทุกท่านที่ติดตาม
ทุกความคิดเห็น และ การกดไลค์ หรือติดตาม
จะเป็นกำลังใจให้ทนายวีรยุทธ ได้ทำวีดีโอในครั้งต่อไปคับ !

จัดการมรดก ฟรี !! , ยื่นได้ที่ไหน ?? 😳 , ถ้าจ้างต้องเสียเงินเท่าไร ? ตอนที่ 171

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *