ประกันสังคมเตือนผู้ประกันตนมาตรา 39 อย่าค้างส่งเงินสมทบ 3 เดือนติดต่อกัน
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ขอบคุณข่าวทางช่อง NBT
ขึ้นว่างงานประกันสังคม ผู้ประกันตนมาตรา 33 ได้เงินชดเชยเท่าไหร่ กี่เดือน ขึ้นว่างงานอย่างไร
สำหรับใครที่ลาออก โดนเลิกจ้าง โดนไล่ออก สามารถขึ้นว่างงานประกันสังคม ผู้ประกันตนมาตรา 33 ได้เงินชดเชยเท่าไหร่ กี่เดือน ขึ้นว่างงานอย่างไร
สำหรับขั้นตอน ลงทะเบียนว่างงาน และยื่นขอเงินว่างงานจากประกันสังคม (มาตรา 33)
เข้าไปที่ลิ้งใต้คลิปด้านล่างและทำตามขั้นตอนได้เลยค่ะ
https://empui.doe.go.th/auth/index
ขึ้นว่างงาน ผู้ประกันตนมาตรา33 โดนไล่ออกได้เงินชดเชย
ผู้ประกันตนควรรู้ ลาออกจากงานมาตรา33 ควรต่อประกันสังคมมาตรา39ดีหรือไม่?
ต่อประกันสังคมมาตรา39 ลาออกจากงาน ข้อดีไม่มีมาตรา33มาตรา39
ลดการส่งเงินสมทบประกันสังคม ม.39และม.33รอบใหม่เดือน 1ม.ค64-31มี.ค64
ลดอัตราการส่งเงินสมทบ
รัฐบาลลดเงินสมทบประกันสังคม นาน 3 เดือน บรรเทาความเดือดร้อนจากการระบาดของโควิด19 ระลอกใหม่
ครม.อนุมัติร่างกฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. ตามที่กระทรวงแรงงานเสนอ ซึ่งเป็นการปรับลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม เป็นเวลา 3 เดือน เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ประกันตนและนายจ้างที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด19 ระลอกใหม่ โดยมีสาระสำคัญดังนี้
1.ลดอัตราเงินสมทบฝ่ายนายจ้างและฝ่ายผู้ประกันตน ตามมาตรา 33 จากเดิมร้อยละ 5 ลดเหลือร้อยละ 3 สำหรับฝ่ายรัฐบาลส่งเงินสมทบอัตราเดิม คือร้อยละ 2.75 ส่วนผู้ประกันตนมาตรา 39 ให้ปรับลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม จากเดิมเดือนละ 432 บาท เหลือเดือนละ 278 บาท เป็นระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2564
2.ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2564 ให้รัฐบาล นายจ้างและผู้ประกันตน ตามมาตรา 33 ออกเงินสมทบเข้ากองทุนเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย และกรณีคลอดบุตร ฝ่ายละร้อยละ 1.05
การจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร และกรณีชราภาพ ในส่วนของนายจ้างและผู้ประกันตน ฝ่ายละร้อยละ 1.85 และรัฐบาลปรับเป็นร้อยละ 1.45
การจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน ในส่วนของนายจ้างและผู้ประกันตน ฝ่ายละร้อยละ 0.1 และรัฐบาลปรับเป็นร้อยละ 0.25
3.ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564 เป็นต้นไป ให้รัฐบาล นายจ้างและผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ออกเงินสมทบเข้ากองทุนเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย และกรณีคลอดบุตร ฝ่ายละร้อยละ 1.5
การจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร และกรณีชราภาพ ในส่วนของนายจ้างและผู้ประกันตนฝ่ายละร้อยละ 3 และรัฐบาล ร้อยละ 1
การจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน ในส่วนของนายจ้างและผู้ประกันตน ฝ่ายละร้อยละ 0.5 และรัฐบาลร้อยละ 0.25
ทั้งนี้ การลดอัตราเงินสมทบจะส่งผลดีต่อผู้ประกันตนและนายจ้าง โดยช่วยให้ผู้ประกันตนสามารถนำเงินไปใช้จ่ายเสริมสถาพคล่อง ประมาณคนละ 460 900 บาท เป็นเวลา 3 เดือน คิดเป็นมูลค่ารวม 8,248 ล้านบาท สำหรับนายจ้าง จะทำให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบลดลง รวม 7,412 ล้านบาท ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายและช่วยรักษาการจ้างงานต่อไปได้
ผู้ประกันตนมาตรา 39 และช่องทางสำหรับชำระเงินสมทบ
รายการ : ฟังสักนิดรู้สิทธิประกันสังคม
เรื่อง : ผู้ประกันตนมาตรา 39 และช่องทางสำหรับชำระเงินสมทบ
ผู้ดำเนินรากการ : นางสาวอำพร กุลฉิม เจ้าพนักงานธุรการชำนาญการ สำนักงานประกันสังคม จ.พิษณโลก
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆwes-and-vps/