NỘI DUNG BÀI VIẾT
บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
สร้างขึ้นมาเพื่อแบ่งปันความรู้ด้านบัญชี ภาษี ประกันสังคม การจดทะเบียนการค้า การจดทะเบียนพาณิชย์ สอนการทำบัญชี ครอบคลุมทั้งระบบ
วิธีโอนเงิน – จ่ายภาษีผ่านมือถือ (กรุงไทย NEXT)
วิธีโอนเงิน จ่ายภาษีผ่านมือถือ สำหรับท่านที่ต้องจ่ายภาษีเพิ่มครับ โดยใช้แอพฯกรุงไทย NEXT
ภาษี,
ภงด 90/91,
ยื่นภาษีออนไลน์,
จ่ายภาษีผ่านมือถือ,
รู้จักและเข้าใจภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แบบง่ายๆ ภายใน 10 นาที!!
คลิปสั้นๆ อธิบายเรื่องภาษีหัก ณ ที่จ่าย หลักการการหักภาษี ณ ที่จ่าย พร้อมตัวอย่างประกอบ โดย TAXBugnoms คนเดิม เพิ่มเติมด้วยสาระ 🙂
เข้าใจเงินได้ 8 ประเภท : http://goo.gl/k9YSdh
เอกสารประกอบอัตราภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
https://goo.gl/Pkp8L2
https://goo.gl/oNWe4d
อย่าลืมกด Subscribed Channel นี้ด้วยนะครับ!!
ติดตามกันได้ที่ : http://goo.gl/jwkQuV
เลือกช่องทางการชำระภาษีในระบบใหม่แบบไหนดี/Pay-In-Slip อยู่เมนูไหน/ยื่นแบบออนไลน์ระบบใหม่กรมสรรพากร
ระบบยื่นแบบภาษีออนไลน์ระบบใหม่ของกรมสรรพากร ผู้ใช้งานสามารถเลือกการชำระเงิน/การชำระภาษี ได้หลายช่องทาง คลิปนี้เป็นการอธิบายแต่ละช่องทาง เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกได้ตรงตามความต้องการมากขึ้น
……………………………………………………….
สามารถพูดคุย แนะนำ ติดตาม และแสดงความคิดเห็น ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้
Facebook : https://www.facebook.com/kalataxes
คริปโต เสียภาษียังไง ? | มีกำไรจากการเทรด Bitcoin และ Cryptocurrency ต้องเสียภาษีหรือเปล่านะ ?
คริปโต เสียภาษียังไง ? เทรดที่ไหนต้องเสีย ภาษี บ้าง ถูกหักภาษีไว้ 15% คืออะไร หักแล้วจบเลยหรือเปล่า สรุปแล้วหลักการภาษีของบ้านเราเป็นอย่างไร พรี่หนอมวิเคราะห์และอธิบายให้ฟังในคลิปนี้ครับผม
สรุปประเด็นสั้น ๆ คือ
1. กรณีมีกำไรจากการเทรดในประเทศ กำไรต้องนำมาเสียภาษีในประเทศไทย แม้ว่าผู้จ่ายเงินได้จะหัก 15% หรือไม่ก็ไม่ใช่ประเด็น
2. กรณีมีกำไรจากการเทรดในต่างประเทศ หากเราเข้าเงื่อนไข 2 ข้อดังนี้ นั่นคือ ในปีไหนถ้าอยู่ในประเทศไทยรวมกันถึง 180 วัน และ ได้นำเงินได้ที่เกิดขึ้นในปีนั้น (กำไร) มาเข้าประเทศไทย ก็แปลว่าต้องเสียภาษีตามหลักการเดียวกันกับข้อ 1
อย่างไรก็ดี หลักการของการคิดกำไร ต้นทุน และอื่น ๆ ยังไม่ชัดเจนเช่นเดียวกัน
ส่วนกรณีอื่น ๆ ยังเป็นที่สงสัยว่าหลักการของกฎหมายจะคิดยังไงกับเรื่องภาษีบ้าง เช่น การ Staking Farming หรือ Miner สายขุด อันนี้ก็ต้องบอกกันตรงๆ ว่า สำหรับประเทศไทยยังไม่มีใครบอกได้ชัดว่า สรุปแล้วต้องเป็นอย่างไร เนื่องจากข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการจัดเก็บภาษี Cryptocurrency นั้น เริ่มต้นมาจากการออก พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรฉบับที่ 19 เพื่อแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติมในมาตรา 40 และมาตรา 50 แห่งประมวลรัษฏากร ในปี 2561 ซึ่งยังไม่ครอบคลุมประเด็นอื่นๆ เท่าไรนัก
และถึงแม้ตอนนี้หลักการจัดเก็บภาษีตามกฎหมายนั้น ยังมีข้อคลุมเครือในหลายจุดที่ทำให้นักลงทุนสงสัย แต่โดยส่วนตัวแล้ว ผมมองว่าเป็นหน้าที่ของทางรัฐว่าในอนาคตจะหาทางเก็บภาษีส่วนนี้อย่างไรให้ถูกต้องและเป็นธรรมมากที่สุดครับ
ส่วนนักลงทุนทุกท่าน สิ่งสำคัญคือการเก็บยอดกำไรที่เราได้รับ และหลักฐานต่างๆ ให้ครบถ้วนครับ
0:00 Intro
0:50 กำไรที่ได้กับการเสียภาษี
1:56 การหักภาษี 15%
2:25 กำไรเกิดขึ้นที่ไหน?
3:55 ปัญหามีอะไรบ้าง?
5:52 ใครมีหน้าที่หักภาษี?
8:27 สรุปสิ่งที่ต้องทำ
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips