NỘI DUNG BÀI VIẾT
ซื้อบ้านมือ 1 ทำไมไม่ได้ลดค่าโอน ค่าจดจำนองในปี 2564 ?
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ซื้อบ้านมือ 1 ทำไมไม่ได้ลดค่าโอน ค่าจดจำนองใรปี 2564 ?
รับชม Live เต็มที่
https://youtu.be/O4krqpd3TZc
มาอัพเดทข่าวดีให้เพื่อนๆทุกคนฟังกันในต้นปี 2564 นะครับได้มีประกาศอย่างเป็นทางการออกมาแล้วนะครับเกี่ยวกับมาตราการลดค่าโอนค่าจดจำนองในปี 2564 นี้นะครับซึ่งเพื่อนๆหลายๆคนถามผมมาเยอะมากๆเลยว่าปีนี้จะมีต่อเหมือนปีที่แล้วไหม ซึ่งสรุปว่าตอนนี้เขาต่อให้จนถึงปี 2564 นี้นะครับรายละเอียดจะเป็นยังไงเดี๋ยวผมจะมาเล่าให้ฟังครับ
มาตราการนี้จะลดค่าโอนและค่าจดจำนอง ซึ่งปรกติ
ค่าโอน จาก 2% ปรับลดเหลือ 0.01 %
ค่าจดจำนองจาก 1% ปรับลดเหลือ 0.01%
แต่มีเงื่อนไขอยู่นะครับว่า
ราคาของบ้านหรือคอนโดที่ซื้อต้องไม่เกิน 3 ล้านบาท
เป็นโครการจัดสรร มือ 1 และต้องเป็นการซื้อที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง หรือ อาคารชุดเท่านั้นครับ
สรุปจบในคลิปเดียว ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าโอนคอนโด ค่าใช้จ่ายในการโอนบ้านกรมที่ดิน | Guru Living
https://youtu.be/KMUqp0_YITQ
ซึ่งจริงๆค่าใช้จ่ายวันโอนบ้าน ณ กรมที่ดินเนี่ยยังมีค่าใช้จ่ายอื่นๆอยู่อีกนะครับซึ่งตรงนี้ผมเคยได้ทำคลิปอธิบายไว้แล้วอยู่ในช่องนี้แหละคับสามารถเข้าไปดูต่อได้ที่
เพื่อนๆอาจคิดในใจนะครับว่าที่บอกว่าประหยัดหนะมันประหยัดขนาดไหน
ผมจะลองคิดคำนวนให้ดูนะครับว่ามาตราการนี้จะช่วยเราประหยัดได้เท่าไรบ้าง
ปรกติ
ค่าโอน 2% จะต้องชำระ 2,000,000 x 2% = 40,000 บาท
ค่าจดจำนอง 1% จะต้องชำระ 2,000,000 x 1% = 20,000 บาท
รวมค่าโอน + ค่าจดจำนอง = 60,000 บาท
เข้ามาตราการลดค่าโอน
ค่าโอน 0.01% จะต้องชำระ 2,000,000 x 0.01% = 200 บาท
ค่าจดจำนอง 0.01% จะต้องชำระ 2,000,000 x 0.01% = 200 บาท
รวมค่าโอน + ค่าจดจำนอง = 400 บาท
สรุปแล้วถ้าเราซื้อขายบ้านหลังนี้ในช่วงที่ไม่มีมาตราการนี้เราจะเสียค่าโอนและค่าจดจำนองทั้งสิ้น 60,000 บาท แต่ถ้าเราซื้อในช่วงมาตราการนี้เราจะเสียแค่ 400 บาท เท่านั้นคับ!!
สำหรับผมถือว่าเป็นมาตราการที่ดีและมีประโยชน์มากเลยนะครับสำหรับคนที่กำลังมองหรือวางแผนจะซื้อบ้านอยู่แล้ว เพราะถ้าเราซื้อบ้านหรือคอนโดที่อยู่ในเกณฑ์นี้เนี่ยเราสามารถประหยัดทั้งค่าโอนและค่าจดจำนองไปได้หลายบาทมากๆเลยครับ ถือว่าเป็นอีกหนึ่งมาตราการที่ช่วยประหยัดเงินในกระเป๋าเราได้เป็นอย่างดีเลย
เพียงแต่ว่าทุกครั้งที่รัฐบาลมีการออกส่วนลด โปรโมชั่น หรือ มาตราการต่างๆแบบนี้ออกมาเราในฐานะผู้ซื้อผมว่าเราควรที่จะมองความพร้อม ความจำเป็น และ เงื่อนไขในชีวิตหลายๆอย่างให้รอบด้านก่อนการตัดสินใจซื้อหรือจองอะไรลงไปนะครับ
สำหรับใครที่กำลังวางแผนซื้อบ้านสามารถเข้าไปรับชมคลิป
How to ซื้อบ้านหลังแรก(Full) จะซื้อบ้านหลังแรกต้องเริ่มยังไงบ้าง สรุปจบในคลิปเดียว
https://youtu.be/W2cMrshy6GQ
ลดค่าโอน64 ลดค่าจดจำนอง ลดค่าโอนบ้าน ลดค่าโอนคอนโด ลดค่าโอนค่าจดจำนอง มาตราการ2564
อดทนกับความเหงา – KLEAR [Official MV]
MV อดทนกับความเหงา\r
Klear\r
New Single 2011\r
genie records \r
\r
http://www.klearklear.com | http://www.fb.com/klearklear\r
\r
เนื้อร้อง : รัณนภันต์ ยั่งยืนพูนชัย / ณัฐวัฒน์ แสงวิจิตร\r
ทำนอง : รัณนภันต์ ยั่งยืนพูนชัย / ณัฐวัฒน์ แสงวิจิตร / ปนัสฐ์ นาครำไพ / นัฐ นิลวิเชียร\r
เรียบเรียง : Klear / ดนัย ธงสินธุศักดิ์\r
\r
เธอมีความฝันที่เธอต้องการ ฉันก็มีทางที่ฉันต้องเดิน\r
เป็นการร่ำลาที่เราต้องเตรียมใจเผชิญ แม้รักกันแค่ไหน\r
\r
จะทนได้ไหมเมื่อเราต้องไกล เธอจะเจอใครใกล้เธอรึเปล่า\r
ยิ่งคิดก็ยิ่งหวั่นไหว ช่วยฉันสัญญาได้ไหม เมื่อถึงวันต้องไกล อยากขอเธอ\r
\r
อดทนได้ไหม ช่วยกันได้ไหมเธอ อดทนกับความเหงาที่เราต้องเจอ\r
ถ้าเมื่อไรเริ่มเหนื่อยหรือว่าใจเริ่มห่าง อย่าลืมว่าฉันยังรักและรอเธอ อยู่ตรงนี้\r
\r
ฝากเธอดูแลตัวเองให้ดี ฉันก็จะทำให้เธอทุกวัน\r
จะเกิดเรื่องราวอะไรถ้าเรายังมีกัน ฉันนั้นจะไม่หวั่นไหว\r
\r
ถ้านานเป็นเดือนหรือนานหลายปี เราจะรอกันเรื่อยไปใช่ไหม\r
แต่แม้ยากเย็นแค่ไหน ช่วยฉันสัญญาได้ไหม เมื่อถึงวันต้องไกล อยากขอเธอ\r
\r
อดทนได้ไหม ช่วยกันได้ไหมเธอ อดทนกับความเหงาที่เราต้องเจอ\r
ถ้าเมื่อไรเริ่มเหนื่อยหรือว่าใจเริ่มห่าง อย่าลืมว่าฉันยังรักและรอเธอ\r
\r
(อยู่ตรงที่เดิมเพื่อเธอนั้น ย้ำกันเข้าไว้เธอ อดทนกับความเหงาที่เราต้องเจอ\r
โปรดอย่าไปเผลอใจ อย่าไปลองคบใคร อดทนรอได้ไหม จนถึงวันนั้นที่เป็นวันของเรา)\r
\r
Bridge\r
สิ่งที่เราจะได้มานั้นคุ้มค่าการรอคอย แค่เวลาเล็กน้อยที่เราต้องจากกันไกล\r
ห่างกันให้ได้รู้ว่ารักกันมากขนาดไหน และในตอนสุดท้าย จะเป็นวันของเรา\r
\r
Produced by ดนัย ธงสินธุศักดิ์\r
Recorded at Vintage Studio by วีรภัทร์ คำหอม , Dano Studio by ดนัย ธงสินธุศักดิ์\r
Mixed by คมกริช พรตระกูล at Final Mix Studio\r
All intruments by Klear\r
\r
ชอบเพลง อดทนกับความเหงา ของวง Klear ดิจิตอลดาวน์โหลด 1230073
สัญญาจำนอง
เป็นส่วนหนึ่งของวิชากฎหมายธุรกิจ
ควรขายฝากหรือจำนองดี | Koy My Property Pro
สัญญาขายฝากกับสัญญาจำนอง
เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
แบบไหนเหมาะกับใคร
ให้เรื่องอสังหาฯเป็นเรื่องง่ายกับ My Property Pro
รับปรึกษา ซื้อ ขาย เช่า จำนอง ฝากขาย ขายฝาก อสังหาริมทรัพย์ ฟรีการตลาดแบบเข้มข้น ฟรีขอสินเชื่อ ทำงานแบบมืออาชีพ
คุณก้อยⓀⓄⓎ✆℡: 0638242656
Line ➲ https://bit.ly/2FDfUyz
Line ➲ https://bit.ly/2JsCr0N
http://m.me/mypropertypro
https://www.facebook.com/MyPropertyPro9/
http://mypropertypro.myweb.in.th/
https://bit.ly/3cl3BCd
จำนอง ขายฝาก ที่ดิน บ้าน บ้านมือสอง ทาวน์โฮม ขายบ้าน ขายที่ดิน ขายฝากบ้าน คอนโด คอนโดให้เช่า บ้านเช่า เช่าคอนโด ซื้อบ้าน อสังหาริมทรัพย์ kaidee mypropertypro 4289
Credit:Bensound.com/Freepik.com
สรุปจบในคลิปเดียว ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าโอนคอนโด ค่าใช้จ่ายในการโอนบ้านกรมที่ดิน | Guru Living
สวัสดีครับ วันนี้เราจะมาคุยกันในอีกหนึ่งหัวข้อที่ได้รับความสนใจกันเป็นอย่างมากนะครับว่าการที่เราไปโอนบ้าน คอนโด หรือที่ดิน ณ กรมที่ดินเนี่ยเราจะมีค่าใช้จ่ายอะไรที่เราต้องเสียบ้างในฐานะทั้งเราเป็นผู้ซื้อหรือผู้ขายก็ตาม วันนี้ผมจะมาอธิบายค่าใช้จ่ายทุกๆอย่างโดยละเอียดเลยครับ
ก่อนอื่นเลยค่าใช้จ่าย ณ กรมที่ดินหากว่าเรามีการซื้อขาย บ้าน คอนโด หรือที่ดินกันจะมี 5 ตัวหลักๆครับคือ
1. ค่าธรรมเนียมการโอน
2. ค่าจดจำนอง
3. ค่าอากรแสตมป์
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
5.ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
1. ค่าธรรมเนียมการโอน
ค่าธรรมเนียมการโอนโดยปรกติแล้วจะคิดเท่ากับ 2% ของราคาประเมินกรมที่ดิน โดยต้องไม่สับสนกับราคาขาย และ ราคาประเมิณของธนาคารนะครับเป็นคนละตัวกัน ราคาประเมิณกรมที่ดินจะถูกประเมิณโดยอาศัยเกณของกรมที่ดินครับ ซึ่งโดยปรกติทั่วๆไปแล้วราคาจะต่ำกว่าทั้ง ราคาซื้อขาย และ ราคาประเมิณธนาคารครับ
(รัฐบาลได้มีการลดค่าธรรมเนียมจาก 2% เป็น 0.01% เฉพาะการซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ในวงเงินไม่เกิน 3 ล้านบาท จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2563 เท่านั้น)
2. ค่าจดจำนอง
กรณีซื้อขาย โดยจดจำนอง(กู้สินเชื่อธนาคาร) จะต้องมีการเสียค่าจดจำนองด้วยครับ โดยคิด 1% ของมูลค่าจำนอง พูดง่ายๆคือ 1% ของเงินที่เราไปกู้ธนาคารมาครับ ยกตัวอย่างเช่น เรากู้เงินธนาคาร 2.5 ล้านบ้าท ค่าจดจำนองจะคิด 1% ของ 2.5 ล้าน ได้ออกมาคือ 25,000 บาทครับ
แต่ในปี 2562 นี้ได้มีการปรับลดค่าจดจำนองลงเหลือ 0.01% เฉพาะกรณีที่มีการจำนองกับสถาบันการเงิน ในราคาซื้อขายและวงเงินจำนอง ไม่เกิน 3 ล้านบาท ตามนโยบายกระตุ้นการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาล จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2563 ซึ่งหากมูลค่าการซื้อขายมากกว่า 3 ล้านบาท ค่าจดจำนองยังคงคิด 1% ตามเดิม ทั้งนี้ การจดทะเบียนการโอนและการจดจำนอง ต้องดำเนินการในคราวเดียวกัน
3. ค่าอากรแสตมป์
กรณีซื้อขายบ้านพร้อมที่ดิน ไม่ว่าจะเป็น บ้านเดี่ยว คอนโดมิเนียม ทาวน์เฮ้าส์ หากผู้ขายเป็นบุคคลธรรมดา แล้วมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเกิน 1 ปี หรือถือครองมาครบ 5 ปี จะต้องเสียค่าอากรแสตมป์ โดยมีอัตราคิดเป็น 0.5%ของราคาประเมิณกรมที่ดินครับ
เช่น หากบ้านมีราคาประเมิน 1.8 ล้านบาท แต่ราคาซื้อขาย อยู่ที่ 2 ล้านบาท ให้ยึดราคาซื้อขายเป็นเกณฑ์
2,000,000 x 0.5% = เสียค่าอากรแสตมป์ 10,000 บาท
โดยหากเสียค่าอากรแสตมป์แล้ว ไม่ต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะอีก
4. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
เมื่อเราขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยการซื้อขาย หรือ ได้รับเป็นมรดก จะต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยคิดเป็น 3.3% ของราคาขายหรือราคาประเมินทุนทรัพย์ แล้วแต่ราคาไหนที่สูงกว่า ยกเว้นแต่ ถ้าเราถือครองที่ดินเกิน 5 ปี หรือมีชื่อในทะเบียนบ้านเกิน 1 ปี ค่าภาษีธุรกิจจำเพาะจะถูกยกเว้นครับ
เช่น หากบ้านมีราคาประเมิน 1.8 ล้านบาท แต่ราคาซื้อขาย อยู่ที่ 2 ล้านบาท ให้ยึดราคาซื้อขายเป็นเกณฑ์
2,000,000 x 3.3% = เสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 66,000 บาท
5. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย
สำหรับผู้ขาย เมื่อขายอสังหาริมทรัพย์แล้วจะมีค่าใช้จ่ายอีกตัวนึงที่ตามมาครับ แต่ถ้าหากเราเป็นผู้ซื้อค่าใช้จ่ายนี้ไม่เกี่ยวข้องกับเรานะครับ ค่าใช้จ่ายตัวนี้คือ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเกณในการเรียกเก็บจะคิดจากราคาประเมินที่ดิน หักค่าใช้จ่ายตามอัตราที่กำหนด หารปีที่ถือครอง คูณอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ถ้าจนถึงตอนนี้ใครยังงงอยู่ไม่เป็นไรนะครับ เพราะสุดท้ายตัวเลขพวกนี้กรมที่ดินเขาจะคิดคำนวนออกมาให้เราครับ เพียงแต่ว่าถ้าเราสามารถคำนวนตัวเลขเหล่านี้ได้ก่อน จะทำให้เราสามารถรู้รายจ่ายที่กำลังจะเกิดขึ้น พร้อมเตรียมรับมือ วางแผนหารายได้มารองรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้ครับ
ค่าโอน ค่าโอนที่ดิน ค่าโอนบ้าน ค่าธรรมเนียมการโอน โอนบ้าน โอนที่ โอนที่ดิน ค่าธรรมเนียมการโอนที่ดิน ค่าธรรมเนียมโอนที่ดิน ค่าจดจำนอง ค่าอากรแสตมป์ ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีขายบ้าน
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips