Home » ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน ความรู้เบื้องต้นเมื่อต้องเป็นผู้ค้ำประกัน(ไม่ได้สอนเรื่องการสู้คดีนะครับ) | คุณสมบัติ ผู้ ค้ำประกัน บ้าน

ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน ความรู้เบื้องต้นเมื่อต้องเป็นผู้ค้ำประกัน(ไม่ได้สอนเรื่องการสู้คดีนะครับ) | คุณสมบัติ ผู้ ค้ำประกัน บ้าน

ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน ความรู้เบื้องต้นเมื่อต้องเป็นผู้ค้ำประกัน(ไม่ได้สอนเรื่องการสู้คดีนะครับ)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ความรับผิดของผู้ค้ำประกันเมื่อผู้ค้ำประกันถูกฟ้องถูกบังคับคดี

ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน ความรู้เบื้องต้นเมื่อต้องเป็นผู้ค้ำประกัน(ไม่ได้สอนเรื่องการสู้คดีนะครับ)

หน้าที่และความรับผิดของผู้ค้ำประกันที่ต้องรู้


หน้าที่และความรับผิดของผู้ค้ำประกันที่ต้องรู้
เห็นว่าดีมีประโยชน์ ช่วยกันกดติดตาม ช่วยไลค์ ช่วยแชร์ ให้ด้วยนะครับเจ้านาย

หน้าที่และความรับผิดของผู้ค้ำประกันที่ต้องรู้

รถยึดไปแล้ว ไฟแนนซ์ฟ้องเรียกส่วนต่าง เจรจาในชั้นศาลอย่างไร


รถถูกยึด ไฟแนนซ์ฟ้องส่วนต่างเจรจาหนี้ชั้นศาล

รถยึดไปแล้ว ไฟแนนซ์ฟ้องเรียกส่วนต่าง เจรจาในชั้นศาลอย่างไร

เติมเยียวยา 3,000 คนละครึ่ง ปี 65 ยุคล อธิบายชัด แผนระบอบประยุทธ์


เติมเยียวยา 3,000 คนละครึ่ง ปี 65 ยุคล อธิบายชัด แผนระบอบประยุทธ์

กู้ร่วม vs ค้ำประกัน เวลากู้ซื้อบ้านต่างกันยังไง ? มีอะไรต้องระวังบ้าง


กู้ร่วม กับ ค้ำประกันต่างกันอย่างไรบ้าง ผมเชื่อว่าต้องมีหลายๆคนที่ยังไม่รู้และสงสัยกันอยู่แน่ๆใช่ไหมครับ
ทั้งสองแบบนี้ถ้าเราฟังดูเผินๆอาจเหมือนการเข้าไปรับภาระหนี้ร่วมกัน แต่จิงๆแล้วในดีเทลทั้งสองอย่างนี้ก็มีข้อแตกต่างกันเยอะพอสมควรเลยครับ ซึ่งไม่ว่าเราจะเป็นผู้ที่จะไปกู้ร่วมผู้ที่จะไปค้ำประกันหรือกำลังหาจากคนมากู้ร่วมหรือกำลังจะหาคนมาค้ำประกันผมคิดว่าเราควรที่จะทราบความแตกต่างของทั้งสองอย่างนี้ให้ดีก่อนตัดสินใจนะครับ ไปดูกันครับ

เริ่มแรกคือความหมายของแต่ละตัวก่อนครับ
ผู้กู้ร่วมคืออะไร?
การกู้ร่วม คือ การเข้าขอสินเชื่อมากกว่า 1 คนขึ้นไปนั่นคือการกู้ร่วมครับ โดยในกรณีนี้ ก็จะถือว่า ผู้กู้ร่วมและคุณเป็นคนๆ เดียวกัน การคิดรายได้ก็จะเพิ่มขึ้นเพราะเอารายได้ของทั้งสองคนมารวมกันแต่ที่สำคัญก็คือภาระหนี้ก็จะถูกแบ่งไปตามสัดส่วนของการกู้ร่วมด้วยนะครับ ซึ่งการทำแบบนี้จะเป็นช่วยให้ธนาคารประเมินวงเงินให้เราได้สูงขึ้นโอกาสที่เราจะขอสินเชื่อผ่านก็จะมีมากขึ้นด้วยครับ

ผู้ค้ำประกันหมายถึงอะไร?
ผู้ค้ำประกัน คือ การหาบุคคลมาค้ำประกันสินเชื่อให้กับลูกหนี้ โดยที่จะไม่ได้มีสถานะเป็นลูกหนี้ และไม่มีส่วนร่วมในสินเชื่อที่ลูกหนี้ขอ และไม่มีกรรมสิทธิ์ใดๆในโฉนดที่ดินหรือบ้าน แต่ถ้าหากในกรณีผู้กู้ผิดนัดชำระเบี้ยสัญญาผู้ค้ำประกันมีหน้าที่ที่จะต้องรับผิดชอบภาระหนี้แทน

แล้วใครกันบ้างที่สามารถกู้ร่วมหรือค้ำประกันได้ ?
ในกรณีการกู้ร่วม ผู้กู้ร่วมจะต้องมีสถานะเป็นบุคคลในครอบครัวเช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก ลุง ป้า น้า อา หลาน ภรรยาหรือแฟน

แต่ในกรณีของผู้ค้ำประกันจะเป็นใครก็ได้ไม่ได้เฉพาะแค่เป็นญาติเท่านั้นอาจจะเป็นคนรู้จักเพื่อนหัวหน้างานแต่ที่สำคัญคือจะต้องมีเครดิตการเงินที่ดี หรือมีรายได้ที่มั่นคง

หลักการพิจารณาคนกู้ร่วมกับค้ำประกันของธนาคารเหมือนกันหรือเปล่า ?
กู้ร่วม
อย่างที่เราได้คุยกันไปแล้วนะครับว่าการกู้ร่วมแหละคือการเข้ายื่นขอสินเชื่อพร้อมๆกันดังนั้นไม่ว่าจะเป็นผู้กู้หลักหรือผู้กู้ร่วมจะต้องมีการตรวจสอบสถานะทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็นรายได้ แหล่งที่มาของรายได้ หรือภาระหนี้สินอย่างละเอียดจากทางธนาคารครับ

ค้ำประกัน
และเช่นกันครับอย่างที่บอกว่าการค้ำประกันเนี่ยเราไม่ได้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือส่วนรับผิดชอบในภาระหนี้ตั้งแต่แรกอยู่แล้วดังนั้นเกณฑ์การพิจารณาบุคคลที่มาค้ำประกันเบียดก็จะดูแค่ว่าขอให้มี statement การเงินที่ดีมีรายได้ที่มั่นคงแค่นี้ก็พอแล้วครับไม่ได้ยุ่งยากกับการกู้ร่วมครับ

กรรมสิทธิ์ในที่ดินของแต่ละแบบแตกต่างกันอย่างไร?
กรณีของการกู้ร่วมเราเหมือนกับว่าไปยื่นขอสินเชื่อร่วมกันแบบภาระหนี้ร่วมกันดังนั้นแล้วกรรมสิทธิ์การเป็นเจ้าของจึงจะแบ่งร่วมกันกับผู้กู้หลักครับ แต่การขอค้ำประกันนั้นผู้ค้ำประกันจะไม่มีสิทธิ์ใดๆบนที่ดินหรือไม่มีเอกสิทธิ์ใดๆทั้งสิ้นครับ

ความเสี่ยงแต่ละแบบเป็นยังไง
ภาพนี้เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดที่หลายๆคนอยากจะทราบแล้วใช่ไหมครับว่าความเสี่ยงระหว่างการกู้ร่วมกับการค้ำประกันนั้นแตกต่างกันยังไงแบบไหนที่เสี่ยงมากกว่ากัน การกู้ร่วมอะครับถ้าเกิดว่ามีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดนัดชำระหรือผิดนัดชำระกันทั้งสองฝ่ายนะฮะเราจำเป็นจะต้องรับผิดชอบกันทั้งคู่นะครับ มีหน้าที่รับผิดชอบภาระหนี้กันทั้งคู่ ภาพแบล็คลิสก็จะแบล็คลิสกันไปทั้งคู่ครับ

แต่ในกรณีผู้ค้ำประกันเนี่ยถ้าเกิดว่าผู้กู้ผิดนัดชำระหรือประวัติเครดิตเสียขึ้นมาเนี่ยผู้ค้ำประกันจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบภาระหนี้ตรงนี้ต่อนะครับและที่สำคัญคือไม่ได้มีส่วนได้ส่วนเสียในกรรมสิทธิ์ที่เขาไปกู้มาด้วยนะครับดังนั้นเนี่ยต้องคิดดูดีๆนะครับ ก่อนจะไปค้ำประกันใคร

ดังนั้นโดยสรุปแล้วนะครับการทำประกันกับการกู้ร่วมนั้นแม้จะคล้ายกันแต่ไม่ได้เหมือนกันนะครับการค้ำประกันจำไว้เลยนะครับว่าเราไม่ได้มีส่วนได้ส่วนเสียในกรรมสิทธิ์ที่ดินนั้นๆเลยเพียงแต่ว่าถ้าเกิดไอ้คนที่เราไปค้ำให้เนี่ยเขาผิดนัดชำระผิดสัญญาขึ้นมาเราจะต้องไปรับผิดชอบแทนเขาดังนั้นถ้าในมุมมองผมผมคิดว่าการค้ำประกันเนี่ยค่อนข้างที่จะละเอียดอ่อนแล้วก็ต้องคิดดีๆให้มากๆเลยนะครับก่อนที่จะไปค้ำประกันให้ใครถ้าเป็นผมเนี่ยผมคงไม่ไปค้ำประกันให้คนอื่นหรอกนะครับ เพราะฟังจากเงื่อนไขต่างๆแล้วค่อนข้างที่จะเสี่ยงมากๆเลยนะครับ

ส่วนการกู้ร่วมนั่นก็เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดีมากๆที่จะช่วยเพิ่มยอดวงเงินสินเชื่อให้เราให้เราสามารถกู้เงินได้มากขึ้นนะโดยการเอาอีกคนนึงมาช่วยเราผ่อนแต่ว่ามันก็มีข้อควรระวังอีกนิดนึงเหมือนกันครับว่าการกู้ร่วมเนี่ยเราจะต้องคิดดีๆยิ่งถ้าเป็นแฟนหรือภรรยาเนี่ยอาจจะต้องคุยกันหรือคิดให้รอบคอบก่อนนะครับเพราะว่ามีหลายเคสเหมือนกันที่กู้ร่วมกันแล้วผ่อนได้พักนึงเกิดแยกทางกันขึ้นมาก็จะเกิดปัญหาอีกครับว่าจะต้องไปทำเรื่องมีค่าใช้จ่ายนู่นนี่นั่นเพิ่มเติมดังนั้นทุกอย่างมีข้อดีข้อเสียในตัวมันเองครับอยากให้ลองเอาไปพิจารณาแล้วเลือกใช้ให้ถูกต้องกันครับ

กู้ร่วม ค้ำประกัน กู้บ้าน

กู้ร่วม vs ค้ำประกัน เวลากู้ซื้อบ้านต่างกันยังไง ? มีอะไรต้องระวังบ้าง

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *