Home » การแบ่งทรัพย์มรดก ทายาทโดยธรรม ,กฎหมายมรดก คู่สมรส | กฎหมายมรดกใหม่

การแบ่งทรัพย์มรดก ทายาทโดยธรรม ,กฎหมายมรดก คู่สมรส | กฎหมายมรดกใหม่

การแบ่งทรัพย์มรดก ทายาทโดยธรรม ,กฎหมายมรดก คู่สมรส


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

มาตรา 1603 กองมรดกย่อมตกทอดแก่ทายาทโดยสิทธิตามกฎหมายหรือโดยพินัยกรรม
ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมาย เรียกว่า “ทายาทโดยธรรม”
ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม เรียกว่า “ผู้รับพินัยกรรม” 
ผู้รับพินัยกรรม
1.ถ้ามีพินัยกรรม ทรัพย์สินที่ถูกระบุไว้ในพินัยกรรมเท่านั้นที่จะถูกบังคับให้เป็นไปตามที่พินัยกรรมระบุไว้ ส่วนทรัพย์มรดกอื่นๆที่ไม่ได้ระบุไว้ในพินัยกรรมให้แบ่งทายาทโดยธรรม ผู้มีสิทธิรับมรดกตามกฎหมาย (ม.1620 วรรค 2)
2.ทายาทที่รับมรดกตามพินัยกรรมแล้ว สามารถแบ่งทรัพย์มรดกในส่วนของทรัพย์สินที่ไม่ได้ระบุในพินัยกรรมได้ (ม.1621)

การแบ่งมรดกแก่ทายาทโดยธรรม
1.ทายาทโดยธรรม 6 อันดับ (ม.1629, 1635 (1) , ม.1627 , ม.1630 วรรค สอง) คู่สมรสและบิดามารดาได้ส่วนแบ่งเสมือนชั้นบุตร
มาตรา 1629 ทายาทโดยธรรมมีหกลำดับเท่านั้น และภายใต้บังคับแห่งมาตรา 1630 วรรค 2 แต่ละลำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลังดั่งต่อไปนี้ คือ
(1) ผู้สืบสันดาน
(2) บิดามารดา
(3) พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
(4) พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
(5) ปู่ ย่า ตา ยาย
(6) ลุง ป้า น้า อา
คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้นก็เป็นทายาทโดยธรรม ภายใต้บังคับของบทบัญญัติพิเศษแห่งมาตรา 1635
มาตรา 1635 ลำดับและส่วนแบ่งของคู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ในการรับมรดกของผู้ตายนั้น ให้เป็นไปดั่งต่อไปนี้
(1) ถ้ามีทายาทตามมาตรา 1629 (1) ซึ่งยังมีชีวิตอยู่หรือมีผู้รับมรดกแทนที่แล้วแต่กรณี คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้น มีสิทธิได้ส่วนแบ่งเสมือนหนึ่งว่าตนเป็นทายาทชั้นบุตร
มาตรา 1627 บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้วและบุตรบุญธรรมนั้นให้ถือว่าเป็นผู้สืบสันดาน เหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี้
การแบ่งทรัพย์มรดก
1.แบ่งให้คู่สมรสก่อน (ม.1625)
2.แบ่งตามลำดับชั้นทายาทโดยธรรม
รับชมเนื้อหาในคลิปเพิ่มเติมได้เลยนะคะ
 
หากคลิปนี้ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะคะ
Page Facebook : ModernLaw
หรือคลิกที่ลิงค์ : https://www.facebook.com/modernlawth

การแบ่งทรัพย์มรดก ทายาทโดยธรรม ,กฎหมายมรดก คู่สมรส

การแบ่งมรดกกรณีไม่ได้ทำพินัยกรรม


การแบ่งมรดกกรณีไม่ได้ทำพินัยกรรม

กฎหมายเกี่ยวกับมรดก วันที่ 31 ก.ค.63


กฎหมายเกี่ยวกับมรดก วันที่ 31 ก.ค.63

Laglott กฎหมายมรดกที่ต้องรู้ พร้อมดูตัวอย่างการคำนวณ


หากไม่อยากเสียความรู้สึก ควรรู้เรื่องนี้เป็นอย่างยิ่ง
Laglott คืออะไร เกี่ยวข้องกับชีวิตคู่ของเรากับคนสวีเดนอย่างไร ลองมาฟังดูค่ะ
ปรารถนาดี
มะกรูด

Laglott กฎหมายมรดกที่ต้องรู้ พร้อมดูตัวอย่างการคำนวณ

สังคมครูกนก Kanozz : กฎหมาย EP. กฎหมายมรดก


สังคมครูกนก Kanozz : กฎหมาย EP. กฎหมายมรดก

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่wes-and-vps/

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *