Home » การเตรียมไฟล์ Excel import ขึ้นระบบสำนักงานประกันสังคมนายจ้างสมทบนายจ้าง 4% ผู้ประกันตน 1% | ประกันสังคมออนไลน์ นายจ้าง

การเตรียมไฟล์ Excel import ขึ้นระบบสำนักงานประกันสังคมนายจ้างสมทบนายจ้าง 4% ผู้ประกันตน 1% | ประกันสังคมออนไลน์ นายจ้าง

การเตรียมไฟล์ Excel import ขึ้นระบบสำนักงานประกันสังคมนายจ้างสมทบนายจ้าง 4% ผู้ประกันตน 1%


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ค่าจ้างงวดเดือนมีนาคม พฤษาคม 2563 นายจ้างสามารถนำส่งเงินสมทบอัตราเงินสมทบนายจ้าง 4% อัตราเงินสมทบผู้ประกันตน 1%
ตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน 2563 เป็นต้นไป
ที่ https://www.sso.go.th/eservices/esv/index.jsp
โหลดคู่มือการส่งข้อมูล
https://drive.google.com/uc?export=download\u0026id=1Nvsx3hGhC2bYjbEqyWUXZC92XezVh8UU
การเตรียมไฟล์ Excel import ขึ้นระบบสำนักงานประกันสังคมนายจ้างสมทบนายจ้าง 4% ผู้ประกันตน 1%
โหลดได้ที่ :https://drive.google.com/file/d/1PP7qV3Al6LGGOO3cs8AmRDXr35WXim/view?usp=sharing
และ https://drive.google.com/file/d/1b61NFCb0KcULwCBeNUqMKtM4Nun8llT/view?usp=sharing
ขอบคุณข้อมูลจาก
สำนักงานประกันสังคม
ติดตามหรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
Facebook :https://www.facebook.com/PayrollOS
Blockdit :https://www.blockdit.com/payrollos
IG :https://www.instagram.com/payrollos
Youtube :https://www.youtube.com/channel/UClIk…
LineID :PayrollOS
Email :[email protected]
| รับฟังย้อนหลัง |

See also  Ultrapro เวย์โปรตีน เกรดพรีเมี่ยม ตัวช่วยเพื่อการสร้างกล้าม | เว ร์ โปรตีน

Payroll มีความสำคัญกับองค์กรอย่างไร EP1
https://youtu.be/YpNA5Eqn4Qo
องค์ประกอบของ “การจัดทำบัญชีเงินเดือน” EP2
https://youtu.be/jWwZ2UbCBmQ
กำหนดรอบการคำนวณเงินเดือน ค่าแรง ค่าตอบแทนอื่น ๆ อย่างไรดี?จึงจะเหมาะสมกับองค์กร EP3
https://youtu.be/Rxoy1vXWbbA
ทำงานล่วงเวลา ต้องได้กี่เท่าของค่าแรง? \”โอทีไม่ใช่โอฟรี\” [ฉบับนายจ้าง vs ลูกจ้าง]https://youtu.be/bfqSX3Vc3n8
คอนเซ็ป วิธีการคิด และคำนวณค่าล่วงเวลาของพนักงาน
https://youtu.be/DTtptMVgwmk
วิธีการหาอัตราเงินสมทบประกันสังคม นายจ้าง 4% ลูกจ้าง 1% (Coronavirus Disease 2019 [COVID19])
https://youtu.be/hdjwBWayCCw
การทำบัญชีเงินเดือน Payroll Covid_19 การเงินและบัญชี
กฏหมายแรงงาน ภาษีส่วนบุคคล
ภาษีอัตราก้าวหน้า คำนวณโอที คำนวณOT
ค่าล่วงเวลา ลดหย่อน HR ฝ่ายบุคคล คำนวณค่าแรง
ภาษีเงินได้ ภงด1 ภงด1ก สปส1_10 กท20ก ภงด3 ภงด53
กรมแรงงาน ประกันสังคม สรรพากร กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ProvidentFund นโยบาย Policy ข้อมูลพนักงานงาน Employee ข้อมูลการทำงาน
TimeAttendance รายงานบัญชีเงินเดือน payrollReport ตรวจสอบ Audit
Socialsecurity RevenueDepartment ธนาคาร Bank DBD DepartmentofBusinessDeverlopment เงินสมทบ4%_1% ผู้ประกันตนมาตรา33 ขึ้นทะเบียนประกันสังคม
ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด เลขนิติบุคคล13หลัก ลูกจ้างผู้ประกันตน

See also  สอนสมัคร PAPAL ประเทศไทย ล่าสุดปี 2021 ด้วยมือถือฟรี | paypal ไทยพาณิชย์

การเตรียมไฟล์ Excel import ขึ้นระบบสำนักงานประกันสังคมนายจ้างสมทบนายจ้าง 4% ผู้ประกันตน 1%

นายจ้างหักและส่ง+รายงานเงินสมทบประกันสังคมยังไง


นายจ้างมีหน้าที่ต้องหักเงินสมทบ และร่วใสมทบเงินจำนวนเท่ากันกับที่หักจากลูกจ้างเข้าสู่กองทุนประกันสังคมทุกเดือน

นายจ้างหักและส่ง+รายงานเงินสมทบประกันสังคมยังไง

การยื่นประกันสังคมออนไลน์ และการยื่นเข้าออก พนักงาน


โปรแกรมบัญชีบริหารธุรกิจ สำหรับเจ้าของ SME ประหยัดเวลาในการยื่นประกันสังคมออนไลน์
สมัครใช้งานวันนี้ ฟรี 1 ผู้ใช้งาน และพนักงานจำนวน 3 คน https://smemove.com/

การยื่นประกันสังคมออนไลน์ และการยื่นเข้าออก พนักงาน

ขึ้นทะเบียนนายจ้างง่ายนิดเดียว


ผู้ประกอบการที่เปิดกิจการใหม่ที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคมตามกฎหมาย ควรทำอย่างไร ใช้เอกสารอะไรบ้าง คลิปนี้มีคำตอบ

ขึ้นทะเบียนนายจ้างง่ายนิดเดียว

สรุปประเด็น #ประกันสังคม ที่ควรรู้สำหรับ #นายจ้าง และ #ลูกจ้าง เพื่อการหักนำส่งและขอชดเชยแบบครบถ้วน


อัพเดท!! มาตรการประกันสังคมล่าสุด สำหรับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด19 พรี่หนอมทำสรุปทั้งหมดที่ควรรู้มาฝากกันครับแยกออกเป็น 2 ส่วนที่ควรรู้ ทั้งส่วนของ นายจ้าง และ ลูกจ้าง ที่ต้องหักและนำส่ง การขยายระยะเวลาการนำส่ง และกรณีขอรับเงินชดเชยจากประกันสังคมเพื่อรับสิทธิ เฉพาะระบบประกันสังคมตามมาตรา 33 เท่านั้น
สรุปประเด็นที่สำคัญ สำหรับเรื่อง ประกันสังคม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1) ส่วนของการลดอัตราสมทบเงินประกันสังคมสำหรับนายจ้างและลูกจ้างที่ยังนำส่งอยู่รวมถึงการยื่นนำส่งเงินที่ขยายเวลาออกไป (ออกเป็นกฎหมายแล้ว)
1.1) อัตราสมทบของนายจ้างอยู่ที่ 4% ส่วนของลูกจ้างอยู่ที่ 1% ตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึง พฤษภาคม 2563
1.2) ขยายเวลานำส่งเงินสมทบไปอีก 3 เดือนตั้งแต่เดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2563 โดยให้นำส่งในเดือนกรกฎาคม กันยายน 2563
2) ส่วนของการขอเงินชดเชยผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งกรณีปิดกิจการ เหตุสุดวิสัย (รัฐสั่งปิด/กักตัว) ได้รับเงินชดเชยเท่าไร มีเงื่อนไขอะไรบ้าง (ยังไม่ออกเป็นกฎหมาย)
ผู้ที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากประกันสังคม ต้องมีองค์ประกอบสามเงื่อนไข คือ อยู่ในระบบตามมาตรา 33 นายจ้างต้องปิด หรือถุกสั่งปิดกิจการ หรือถูกสั่งกักตัว และต้องไม่ได้รับเงินค่าจ้าง
โดยกรณีที่นายจ้างเลิกกิจการ หรือไม่ได้รับค่าจ้าง หรือ ถูกให้ออก กรณีว่างงาน จะได้รับเงินชดเชยกรณีว่างงานในอัตรา 70% ของค่าจ้างแต่ไม่เกิน 200 วัน
แต่กรณีนายจ้างถูกสั่งปิดชั่วคราว หรือ รัฐสั่งปิด หรือ นายจ้างสั่งให้กักตัว จะได้รับเงินชดเชยกรณีเหตุสุดวิสัย 62% ของค่าจ้างแต่ไม่เกิน 90 วัน และนายจ้างต้องยื่นแจ้งหนังสือรับรองการหยุดงาน โดยระบุวันเริ่มต้นหยุดงาน และวันที่ครบกำหนดผ่านเวปไซด์ sso.go.th ด้วยเช่นกัน
รายละเอียดทั้งหมดฟังได้ตามคลิปนี้ หรือดูเป็นตารางได้ที่ https://www.facebook.com/TaxBugnoms/posts/4301559953202721
เราไม่ทิ้งกัน ประกันสังคม รายได้ลดลง เงินชดเชย ลงทะเบียน นายจ้าง ลูกจ้าง ตกงาน SSO มาตรการประกันสังคม เหตุสุดวิสัย เงินช่วยเหลือ
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

See also  สูตรหวยหุ้นแม่นทุกรอบวันนี้จะออกอะไร ดูฟรี 4 รอบ เปิดเช้า ปิดเที่ยง เปิดบ่าย ปิดเย็น | หุ้น ปิด อะไร

สรุปประเด็น #ประกันสังคม ที่ควรรู้สำหรับ #นายจ้าง และ #ลูกจ้าง เพื่อการหักนำส่งและขอชดเชยแบบครบถ้วน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *